ข้ามไปเนื้อหา

นางงามนานาชาติ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นางงามนานาชาติ
ชื่อย่อMI
ก่อตั้ง1960
ประเภทการประกวดนางงาม
สํานักงานใหญ่โตเกียว
ที่ตั้ง
ภาษาทางการ
อังกฤษ , ญี่ปุ่น
เว็บไซต์officel website

มิสอินเตอร์เนชันแนล หรือ นางงามนานาชาติ (อังกฤษ: Miss International) เป็น 1 ใน 5 แกรนด์สแลมของเวทีนางงาม โดยเริ่มจัดการประกวดครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1960[1][2] ที่ลองบีช สหรัฐ แต่ต่อมาเมื่อปี ค.ศ. 1967 ได้ย้ายจากสหรัฐไปประกวดที่ประเทศญี่ปุ่น ในปัจจุบัน การประกวดได้จัดขึ้นที่ประเทศญี่ปุ่นเป็นส่วนใหญ่

ผู้ดำรงตำแหน่งนางงามนานาชาติคนปัจจุบัน คือ อันเดรอา รูบิโอ จากประเทศเวเนซุเอลา ได้รับตำแหน่งเมื่อวันที่ 27 ตุลาคม ค.ศ. 2023 โดยเธอเป็นตัวแทนจากประเทศเวเนซุเอลาคนที่ 9 ที่ได้รับตำแหน่งนางงามนานาชาติ

ผู้ชนะการประกวดในช่วงไม่กี่ปี

[แก้]
ปี ประเทศ ผู้ดำรงตำแหน่ง เวทีประกวดระดับชาติ สถานที่จัดประกวด ผู้เข้าประกวด
2023 ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา อันเดรอา รูบิโอ (Andrea Rubio) มิสเวเนซุเอลา ญี่ปุ่น โตเกียว, ญี่ปุ่น 70
2022  เยอรมนี ยัสมิน เซลแบร์ค (Jasmin Selberg) มิสอินเตอร์เนชันแนลเยอรมนี 76
2021 งดจัดการประกวด เนื่องจากสถานการณ์ไวรัสโควิด-19
2020
2019  ไทย สิรีธร ลีห์อร่ามวัฒน์ (Sireethorn Leearamwat) นางสาวไทย ญี่ปุ่น โตเกียว, ญี่ปุ่น 83
2018 ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา มาริเอม เบลัซโก (Mariem Velazco) มิสเวเนซุเอลา 77

ทำเนียบนางงามนานาชาติ

[แก้]

องค์กรมิสอินเตอร์เนชันแนล

[แก้]

องค์กรมิสอินเตอร์เนชันแนล เป็นองค์กรในปัจจุบันที่เป็นเจ้าของและดำเนินการประกวดมิสอินเตอร์เนชันแนล หรือนางงามนานาชาติ และมิสอินเตอร์เนชันแนลเจแปน หรือนางงามนานาชาติญี่ปุ่น สำนักงานใหญ่อยู่ที่โตเกียว โดยของเจ้าองค์กรคือ ICA (International Cultural Association) ประธานกองประกวดคนปัจจุบันคือ Akemi Shimomura องค์การขายสิทธิทางโทรทัศน์ให้กับการประกวดในประเทศอื่น ๆ

ผู้ครองตำแหน่งองค์กรมิสอินเตอร์เนชันแนล

[แก้]

ด้านล่างนี้เป็นรายนามผู้ครองตำแหน่งทั้งหมดขององค์กรมิสอินเตอร์เนชันแนลในช่วงหลายปีที่ผ่านมา

ปี นางงามนานาชาติ ประเทศ นางงามนานาชาติญี่ปุ่น จังหวัด
2022 ยัสมิน เซลแบร์ค ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี Kiko Matsuo ซางะ
2021 งดจัดการประกวด งดจัดการประกวด
2020 Chiho Terauchi โทจิงิ
2019 สิรีธร ลีห์อร่ามวัฒน์  ไทย Tomomi Okada โตเกียว
2018 มารีเอม เวลาซโก ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา Hinano Sugimoto โตเกียว
2017 เควิน ลีเลียนา ธงของประเทศอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย Natsuki Tsutsui ไซตามะ
2016 ไคลี เวอร์โซซา ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ Junna Yamagata อิวาเตะ
2015 เอดีมาร์ มาร์ติเนซ ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา Arisa Nakagawa ชิบะ
2014 วาเลรี เฮอร์นันเดซ ธงของปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก Rira Hongo โตเกียว
2013 บีอา โรส ซันติอาโก ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ Yukiko Takahashi โตเกียว
2012 อิคุมิ โยะชิมัตซึ ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น Ikumi Yoshimatsu ซางะ
2011 มาเรีย เฟร์นันดา คอร์เนโจ ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ Nagomi Murayama คานางาวะ
2010 อีลิซาเบธ มอสเควนลา ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา Etsuko Kanagae โอซากะ
2009 อานากาเบรียลา เอสปิโนซา ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก Yuka Nakayama ฟูกูโอกะ
2008 อเลแจนดรา แอนดรูว์ ธงของประเทศสเปน สเปน Kyoko Sugiyama คานางาวะ
2007 พริสซิลลา เพอร์ลาเลซ ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก Hisako Shirata โทจิงิ
2006 ดาเนียลา กีอาโคโม ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา Mami Sakurai โตเกียว
2005 เพอร์ซิอัส เควกาแมน ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ Naomi Ishizaka โตเกียว
2004 จีมมี โพลา วาร์กัส ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย Tamiko Kawahara อิบารากิ
2003 กรอเซเดอร์ เอซัว ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา Saeko Matsumi โตเกียว
2002 คริสติน่า ซาวายา ธงของประเทศเลบานอน เลบานอน Hana Urushima เคียวโตะ
2001 มัลกอร์เซตา รอซนีคกา ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ Hanako Suzuki ไซตามะ
2000 วิเวียน เออร์เดนีตา ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา Kanako Shibata ฮกไกโด
1999 พอลลีนา กัลเวซ ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย Kana Onoda ฟูกูชิมะ
1998 ลีอา บอร์เรโล ธงของประเทศปานามา ปานามา Megumi Taira โตเกียว
1997 คอนซูเอโล แอดเลอร์ ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา Sayuri Seki ไซตามะ
1996 เฟร์นันดา อัลเวซ ธงของประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส Akiko Sugano โตเกียว
1995 แอนน์ ลีนา ฮันสัน ธงของประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ Yuka Kondo โอซากะ
1994 คริสตินา เล็คกา ธงของประเทศกรีซ กรีซ Tomomi Hanamura ไอจิ
1993 อัคเนสตา พาซาลโก ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ Masayo Shibasaki คานางาวะ
1992 คริสเตน เดวิดสัน ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย Tomoko Nishiki โอซากะ
1991 อัคเนซกา คอทลาร์สกา ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ Miho Takata เอฮิเมะ
1990 ซิลเวีย เด เอสเตบัน ธงของประเทศสเปน สเปน Hiroko Ohnishi เฮียวโงะ
1989 ไอริส เคลน ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี Tamae Ogura โอซากะ
1988 แคทเธอรีน กูด ธงของประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ Yuki Egami ฟูกูอิ
1987 ลอรี ซิมป์สัน ธงของปวยร์โตรีโก ปวยร์โตรีโก Yayoi Morita ยามานาชิ
1986 เฮเลน แฟร์บราเธอร์  อังกฤษ Rika Kobayashi ชิซูโอกะ
1985 นีนา ซิซิเลีย เฮอร์นันเดซ ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา Makiko Matsumoto โอซากะ
1984 อิลมา เออร์อูเตีย ธงของประเทศกัวเตมาลา กัวเตมาลา Junko Ueno โอซากะ
1983 กิดเกจ ซานโดวาล ธงของประเทศคอสตาริกา คอสตาริกา Akemi Fujita ยามางูจิ
1982 คริสตี เอลเลน คลาริดก์  สหรัฐอเมริกา Yukiko Tsutsumi ฮกไกโด
1981 เจนนี แอนเนตต์ เดเร็ค ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย Mika Moriwaki โอกายามะ
1980 ลอร์นา ชาเวซ ธงของประเทศคอสตาริกา คอสตาริกา Mayumi Kanbara โอซากะ
1979 มิมีลานี มาร์เควซ ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ Hideko Haba โตเกียว
1978 แคทเธอรีน รูธ  สหรัฐอเมริกา Atsuko Taguchi อากิตะ
1977 ไพลาร์ เมดีนา  สเปน Mieko Kojima ไซตามะ
1976 โซฟี เพริน ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส Kumie Nakamura โอซากะ
1975 ลิดีจา เวรา มานิค ยูโกสลาเวีย Sumiko Kumagai โตเกียว
1974 คาเรน บรูค สมิธ  สหรัฐอเมริกา Hideko Shigekawa โอซากะ
1973 แอนลี บจอร์คลิง ธงของประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ Miki Yaita ฮกไกโด
1972 ลินดา ฮุกส์  สหราชอาณาจักร Yuko Tamehisa ยามางูจิ
1971 เจน เฮนซัน ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ Reiko Yoneyama ยามานาชิ
1970 ออโรรา พีฮวน ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ Toshie Suda ยามานาชิ
1969 วาเลรี โฮล์มส์  สหราชอาณาจักร Akemi Okemoto ฮิโรชิมะ
1968 มาเรีย คาร์วัลโญ ธงของประเทศบราซิล บราซิล Yoko Sunami ฟูกูโอกะ
1967 เมอร์ตา มาซซา ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา Hiroko Sasaki โตเกียว
1966 งดจัดการประกวด งดจัดการประกวด
1965 อินกริด ฟิงเกอร์ ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี Hiroko Fukushima โตเกียว
1964 เจมมา ครูซ ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ Naoko Matsui ฟูกูโอกะ
1963 บัดดราน เบจานาร์ด็อทเตอร์ ธงของประเทศไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ Shizuko Shimizu โตเกียว
1962 ทาเนีย เวอร์สตัค ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย Kaoru Maki โตเกียว
1961 แสตม แวน แบร์  ฮอลแลนด์ Atsuko Kyoto ฟูกูอิ
1960 สเตลลา มาร์เควซ ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย Michiko Takagi โอซากะ

รางวัลพิเศษ

[แก้]

ตัวแทนประเทศไทย

[แก้]
ปี ผู้ดำรงตำแหน่ง จังหวัด ตำแหน่งในการประกวด รางวัลพิเศษ
2024 อภิสรา ธาดาดลทิพย์ TBA TBA TBA
2023 สุภาภรณ์ ฤทธิพฤกษ์ ลำพูน เข้ารอบ 7 คน สุดท้าย
2022 ฤๅชนก มีแสง ชลบุรี ไม่ผ่านเข้ารอบ
2021 งดจัดการประกวด เนื่องจากสถานการณ์ไวรัสโควิด-19
2020
2019 สิรีธร ลีห์อร่ามวัฒน์ กรุงเทพมหานคร มิสอินเตอร์เนชันแนล 2019 ราชินีทวีปเอเชีย
2018 กีรติกา จารุรัตน์จามร พิษณุโลก เข้ารอบ 15 คนสุดท้าย
2017 รติยาภรณ์ ชูแก้ว สงขลา เข้ารอบ 15 คนสุดท้าย
2016 ภัททิยา พงศ์ไทย ยะลา เข้ารอบ 15 คนสุดท้าย
2015 ศศิ สินทวี สงขลา เข้ารอบ 10 คนสุดท้าย
2014 ปุณิกา กุลสุนทรรัตน์ ประจวบคีรีขันธ์ รองอันดับ 2
2013 ชลธิชา เที่ยงธรรม ชลบุรี เข้ารอบ 15 คนสุดท้าย
2012 รุ่งสินี ปัญจบุรี ลำพูน ไม่ผ่านเข้ารอบ
2011 กัณตพัฒน์ พีรดาชัยนรินทร์ ราชบุรี เข้ารอบ 15 คนสุดท้าย ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม
2010 ปิยภรณ์ ดีจริง นครราชสีมา รองอันดับ 1
2009 พิชา นามประดิษฐ์ กาญจนบุรี ไม่ผ่านเข้ารอบ
2008 ภณัฐศรม คุ้มจิตร สงขลา ไม่ผ่านเข้ารอบ
2007 ชมพูเนกย์ บดินทร์วรวัฒน์ สมุทรปราการ ไม่ผ่านเข้ารอบ
2006 วาสนา วงษ์บุญตรี กรุงเทพมหานคร เข้ารอบ 12 คนสุดท้าย ขวัญใจช่างภาพ
2005 สุกัญญา พิมมล นครสวรรค์ ไม่ผ่านเข้ารอบ
2004 สุนิสา ผาสุข สิงห์บุรี ไม่ผ่านเข้ารอบ
2003 ปวีณา บำรุงรส ร้อยเอ็ด เข้ารอบ 12 คนสุดท้าย
2002 ปิยะนุช ฉ่ำบุญ พิษณุโลก เข้ารอบ 12 คนสุดท้าย
2001 กนิฏฐกัณฑ์ แสงประจักษ์สกุล กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
2000 สรียาวรรธน์ พงศ์ขจร กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
1995 อรัญญาภรณ์ จตุรพรพันธ์ สงขลา ไม่ผ่านเข้ารอบ
1993 สุพาศิริ พยัคศิริ กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
1992 ษรฉัตร สหัชธนชัย กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
1990 ลักษมี เทียนกันฑ์เทศน์ นครสวรรค์ ไม่ผ่านเข้ารอบ
1989 พิมพิไล ไชโย น่าน ไม่ผ่านเข้ารอบ
1988 ภัสสร บุญยเกียรติ กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ ขวัญใจช่างภาพ
1987 ดาริน กรสกุล พิษณุโลก ไม่ผ่านเข้ารอบ
1986 จันทนี สิงห์สุวรรณ กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
1985 ศศิมาภรณ์ ไชยโกมล ชลบุรี ไม่ผ่านเข้ารอบ
1984 ปราณี เมียวนวม กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
1983 กษมา เสนาวัฒน์ กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
1982 กานดา เตชะประทีป กรุงเทพมหานคร เข้ารอบ 15 คนสุดท้าย
1981 ศรีนวล อัตตะสาระ กรุงเทพมหานคร เข้ารอบ 15 คนสุดท้าย
1980 วนาลี เตมีรักษ์ กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
1979 ปัทมาวดี แอน กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
1977 อำภา ภูษิต นนทบุรี ไม่ผ่านเข้ารอบ
1976 ดวงรัตน์ ทวีโชคทรัพย์สิน กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
1974 ยุวดี ศิริรัชตา กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
1973 จินตนา เตชะมณีวัฒน์ กรุงเทพมหานคร เข้ารอบ 15 คนสุดท้าย
1972 สรินยา ทัตตวร กรุงเทพมหานคร ไม่ผ่านเข้ารอบ
1971 สุภัค ลิขิตกุล กรุงเทพมหานคร รองอันดับ 1
1970 พนารัตน์ พิสุทธิศักดิ์ กรุงเทพมหานคร เข้ารอบ 15 คนสุดท้าย
1969 อุษณีย์ เพ็ญพิมล นครศรีธรรมราช รองอันดับ 4
1968 รุ่งทิพย์ ภิญโญ ลำพูน รองอันดับ 4 ขวัญใจช่างภาพ

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "MOFA examines beauty contest's 'belittling'". The China Post. 21 October 2008. สืบค้นเมื่อ 16 November 2010.
  2. Adelstein, Jake. "First lady scrutinizes blackballing of beauty queen". The Japan Times. สืบค้นเมื่อ 26 October 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
pFad - Phonifier reborn

Pfad - The Proxy pFad of © 2024 Garber Painting. All rights reserved.

Note: This service is not intended for secure transactions such as banking, social media, email, or purchasing. Use at your own risk. We assume no liability whatsoever for broken pages.


Alternative Proxies:

Alternative Proxy

pFad Proxy

pFad v3 Proxy

pFad v4 Proxy