ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฉบับร่าง:โรงเรียนประชาบดี"
วรุฒ หิ่มสาใจ (คุย | ส่วนร่วม) ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
เพิ่มเติมใส่ภาพที่ถูกลบ |
||
(ไม่แสดง 20 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 3 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
{{ฉบับร่าง}} |
{{ฉบับร่าง}} |
||
{{โฆษณา}} |
{{โฆษณา}} |
||
'''โรงเรียนประชาบดี''' เป็นโรงเรียนเอกชนการกุศล ประเภท[[การศึกษาพิเศษ]] สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนนทบุรี [[สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน]] [[สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ]] [[กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)|กระทรวงศึกษาธิการ]] ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ที่ 78/5 หมู่ 1 ตำบลบางตลาด [[อำเภอปากเกร็ด]] [[จังหวัดนนทบุรี]]<ref name=":0">{{Cite web|title=โรงเรียนประชาบดี|url=https://www.prachabodee.ac.th/|website=www.prachabodee.ac.th}}</ref> |
'''โรงเรียนประชาบดี''' เป็นโรงเรียนเอกชนการกุศล ประเภท[[การศึกษาพิเศษ]] สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนนทบุรี [[สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน]] [[สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ]] [[กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)|กระทรวงศึกษาธิการ]] ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ที่ 78/5 หมู่ 1 ตำบลบางตลาด [[อำเภอปากเกร็ด]] [[จังหวัดนนทบุรี]]<ref name=":0">{{Cite web|title=โรงเรียนประชาบดี|url=https://www.prachabodee.ac.th/|website=www.prachabodee.ac.th}}</ref><ref>{{Cite web|last=pubhtml5.com|title=SAR ประชาบดี 2564|url=https://pubhtml5.com/kfia/fjmo/|website=Pubhtml5|language=th}}</ref> |
||
{{ข้อมูลโรงเรียน |
{{ข้อมูลโรงเรียน |
||
| name = โรงเรียนประชาบดี |
| name = โรงเรียนประชาบดี |
||
| native_name = Prachabodee School |
| native_name = Prachabodee School |
||
| logo = |
| logo = ตราโรงเรียนประชาบดี.png |
||
| motto = เป็นคนดี มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ เชิดชูคุณธรรม |
| motto = เป็นคนดี มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ เชิดชูคุณธรรม |
||
| address = เลขที่ 78/5 หมู่ที่ 1 [[ซอยติวานนท์-ปากเกร็ด1]] [[ตำบลบางตลาด]] [[อำเภอปากเกร็ด]] [[จังหวัดนนทบุรี]] 11120 |
| address = เลขที่ 78/5 หมู่ที่ 1 [[ซอยติวานนท์-ปากเกร็ด1]] [[ตำบลบางตลาด]] [[อำเภอปากเกร็ด]] [[จังหวัดนนทบุรี]] 11120 |
||
บรรทัด 33: | บรรทัด 33: | ||
สถานสงเคราะห์เด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด ได้ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปี[[พ.ศ. 2513|พุทธศักราช 2513]] สถานสงเคราะห์แห่งนี้ได้ดำเนินการให้การอุปการะเลี้ยงดูและฟื้นฟูปรับสภาพความพิการ เพื่อให้เด็กพิการผู้ด้อยโอกาสเหล่านี้สามารถช่วยเหลือตนเองให้ได้มากที่สุด นอกจากการให้การเลี้ยงดูในด้านความเป็นอยู่และฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายแล้ว ปัจจัยสำคัญที่จะเป็นหนทางนำเด็กพิการไปสู่ความสามารถที่จะพึ่งพาเลี้ยงตนเองได้นั้น คือการศึกษา ซึ่งสถานสงเคราะห์ได้ดำเนินการให้การศึกษาแก่เด็กพิการมาตั้งแต่ยังไม่เป็นรูปแบบที่เด่นชัด ทั้งนี้เนื่องจากปัญหาอุปสรรคทั้งในด้านตัวเด็กพิการ ครูผู้สอน และปัญหาด้านอาคารสถานที่ สำหรับปัญหาในตัวเด็กพิการ ได้แก่ สภาพความพิการของเด็กสถานสงเคราะห์ ส่วนใหญ่เป็นลักษณะพิการซ้ำซ้อน และช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ทั้งนี้เนื่องจากขาดการส่งเสริมให้มีพัฒนาการที่ถูกต้อง สำหรับปัญหาด้านครูที่สถานสงเคราะห์ เป็นครูสามัญ ไม่มีความรู้ทางด้านการศึกษาพิเศษสอนเด็กพิการโดยตรง นอกจากนั้นในด้านอาคารสถานที่เรียนยังไม่เอื้ออำนวยต่อสภาพการเรียนการสอนอีกด้วย เช่น สภาพห้องเรียนเป็นเพิงโปร่งไม่มีฝากั้น ต้องใช้โรงจอดรถเป็นห้องเรียน และห้องเรียนกระจัดกระจายไม่เป็นสัดส่วน บางห้องอบอ้าว คับแคบ เป็นอุปสรรคต่อการเรียนของเด็กที่มีสภาพความพิการที่หลากหลาย |
สถานสงเคราะห์เด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด ได้ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปี[[พ.ศ. 2513|พุทธศักราช 2513]] สถานสงเคราะห์แห่งนี้ได้ดำเนินการให้การอุปการะเลี้ยงดูและฟื้นฟูปรับสภาพความพิการ เพื่อให้เด็กพิการผู้ด้อยโอกาสเหล่านี้สามารถช่วยเหลือตนเองให้ได้มากที่สุด นอกจากการให้การเลี้ยงดูในด้านความเป็นอยู่และฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายแล้ว ปัจจัยสำคัญที่จะเป็นหนทางนำเด็กพิการไปสู่ความสามารถที่จะพึ่งพาเลี้ยงตนเองได้นั้น คือการศึกษา ซึ่งสถานสงเคราะห์ได้ดำเนินการให้การศึกษาแก่เด็กพิการมาตั้งแต่ยังไม่เป็นรูปแบบที่เด่นชัด ทั้งนี้เนื่องจากปัญหาอุปสรรคทั้งในด้านตัวเด็กพิการ ครูผู้สอน และปัญหาด้านอาคารสถานที่ สำหรับปัญหาในตัวเด็กพิการ ได้แก่ สภาพความพิการของเด็กสถานสงเคราะห์ ส่วนใหญ่เป็นลักษณะพิการซ้ำซ้อน และช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ทั้งนี้เนื่องจากขาดการส่งเสริมให้มีพัฒนาการที่ถูกต้อง สำหรับปัญหาด้านครูที่สถานสงเคราะห์ เป็นครูสามัญ ไม่มีความรู้ทางด้านการศึกษาพิเศษสอนเด็กพิการโดยตรง นอกจากนั้นในด้านอาคารสถานที่เรียนยังไม่เอื้ออำนวยต่อสภาพการเรียนการสอนอีกด้วย เช่น สภาพห้องเรียนเป็นเพิงโปร่งไม่มีฝากั้น ต้องใช้โรงจอดรถเป็นห้องเรียน และห้องเรียนกระจัดกระจายไม่เป็นสัดส่วน บางห้องอบอ้าว คับแคบ เป็นอุปสรรคต่อการเรียนของเด็กที่มีสภาพความพิการที่หลากหลาย |
||
ในปี[[พ.ศ. 2524|พุทธศักราช 2524]] สถานสงเคราะห์ ได้ขอความร่วมมือไปยังกองการศึกษาพิเศษ [[กรมสามัญศึกษา]] [[กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)|กระทรวงศึกษาธิการ]] จัดโครงการสอนเด็กพิการและทุพพลภาพ ปากเกร็ด ส่งครูการศึกษาพิเศษ มาช่วยจัดการเรียนการสอนแก่เด็กพิการ ขณะเดียวกันสถานสงเคราะห์ได้ส่งบุคลากรเข้าอบรมหลักสูตรการศึกษาพิเศษ มีผลช่วยให้เด็กพิการได้รับการพัฒนาด้านการศึกษาอย่างเต็มที่ และเด็กพิการได้รับโอกาสพัฒนาความสามารถขั้นเตรียมความพร้อมก่อนเข้าโรงเรียนภายนอกอีกทั้งผู้ที่มีสภาพความพิการอย่างรุนแรงไม่สามารถไปเรียนภายนอกก็ได้รับโอกาสการเรียนการสอนวัดผลความรู้ในสถานสงเคราะห์ด้วย |
ในปี[[พ.ศ. 2524|พุทธศักราช 2524]] สถานสงเคราะห์ ได้ขอความร่วมมือไปยังกองการศึกษาพิเศษ [[กรมสามัญศึกษา]] [[กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)|กระทรวงศึกษาธิการ]] จัดโครงการสอนเด็กพิการและทุพพลภาพ ปากเกร็ด ส่งครูการศึกษาพิเศษ มาช่วยจัดการเรียนการสอนแก่เด็กพิการ ขณะเดียวกันสถานสงเคราะห์ได้ส่งบุคลากรเข้าอบรมหลักสูตรการศึกษาพิเศษ มีผลช่วยให้เด็กพิการได้รับการพัฒนาด้านการศึกษาอย่างเต็มที่ และเด็กพิการได้รับโอกาสพัฒนาความสามารถขั้นเตรียมความพร้อมก่อนเข้าโรงเรียนภายนอกอีกทั้งผู้ที่มีสภาพความพิการอย่างรุนแรงไม่สามารถไปเรียนภายนอกก็ได้รับโอกาสการเรียนการสอนวัดผลความรู้ในสถานสงเคราะห์ด้วย<ref>{{Citation|last=ส่วนสื่อการศึกษาเพื่อคนพิการ|title=รายการชีวิตเลือกได้ ตอน "โรงเรียนของเรา..ประชาบดี"|date=2013-09-02|url=https://www.youtube.com/watch?v=yeiIwerEbwM|access-date=2024-10-05}}</ref> |
||
สถานสงเคราะห์ฯ สามารถแก้ปัญหาด้านเด็กผู้รับการสงเคราะห์และครูผู้สอนได้แล้ว แต่มีปัญหาด้านอาคารสถานที่ยังเป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอนของเด็กพิการอยู่มาก เนื่องจากสถานสงเคราะห์ขาดงบประมาณในการจัดสร้างอาคารเรียนที่เหมาะสม ดังนั้นในปีพุทธศักราช 2526 สถานสงเคราะห์เด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด จึงได้จัดทำโครงการสร้างอาคารเรียนภายในสำหรับเด็กพิการในสถานสงเคราะห์ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เด็กพิการในสถานสงเคราะห์ ได้มีอาคารที่เหมาะสมกับสภาพความพิการ และเตรียมความพร้อมด้านการเรียนก่อนที่จะออกไปเรียนยังโรงเรียนภายนอก สำหรับงบประมาณในการจัดสร้างอาคารในระยะแรกเป็นเงินๆ ประมาณสามล้านบาท สถานสงเคราะห์ได้ดำเนินการรณรงค์หาเงินบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธา ตั้งแต่ปี[[พ.ศ. 2528|พุทธศักราช 2528]] เป็นต้นมา โดยมีผู้ร่วมแรงร่วมใจกันสร้างสานความฝันสำหรับอาคารเรียนเด็กพิการ จากมวลชนทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชน เริ่มจากสถานสงเคราะห์ได้จัดทำ[[ระฆัง]][[เซรามิก|เซรามิค]]เพ้นท์ โดยฝีมือเด็กพิการออกจำหน่ายใบละยี่สิบบาทมีคำเชิญชวนด้วยบทกลอนจากใจเด็กพิการจารึกอยู่ข้างกล่องระฆังนี้ |
สถานสงเคราะห์ฯ สามารถแก้ปัญหาด้านเด็กผู้รับการสงเคราะห์และครูผู้สอนได้แล้ว แต่มีปัญหาด้านอาคารสถานที่ยังเป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอนของเด็กพิการอยู่มาก เนื่องจากสถานสงเคราะห์ขาดงบประมาณในการจัดสร้างอาคารเรียนที่เหมาะสม ดังนั้นในปี[[พ.ศ. 2526|พุทธศักราช 2526]] สถานสงเคราะห์เด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด จึงได้จัดทำโครงการสร้างอาคารเรียนภายในสำหรับเด็กพิการในสถานสงเคราะห์ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เด็กพิการในสถานสงเคราะห์ ได้มีอาคารที่เหมาะสมกับสภาพความพิการ และเตรียมความพร้อมด้านการเรียนก่อนที่จะออกไปเรียนยังโรงเรียนภายนอก สำหรับงบประมาณในการจัดสร้างอาคารในระยะแรกเป็นเงินๆ ประมาณสามล้านบาท สถานสงเคราะห์ได้ดำเนินการรณรงค์หาเงินบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธา ตั้งแต่ปี[[พ.ศ. 2528|พุทธศักราช 2528]] เป็นต้นมา โดยมีผู้ร่วมแรงร่วมใจกันสร้างสานความฝันสำหรับอาคารเรียนเด็กพิการ จากมวลชนทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชน เริ่มจากสถานสงเคราะห์ได้จัดทำ[[ระฆัง]][[เซรามิก|เซรามิค]]เพ้นท์ โดยฝีมือเด็กพิการออกจำหน่ายใบละยี่สิบบาทมีคำเชิญชวนด้วยบทกลอนจากใจเด็กพิการจารึกอยู่ข้างกล่องระฆังนี้ |
||
''เสียงระฆัง ดังสัญญาณ การศึกษา'' |
''เสียงระฆัง ดังสัญญาณ การศึกษา'' |
||
บรรทัด 44: | บรรทัด 44: | ||
'' เพื่อช่วยให้ พวกหนูนี้ มีโรงเรียน'' |
'' เพื่อช่วยให้ พวกหนูนี้ มีโรงเรียน'' |
||
[[ไฟล์:เจ้าหญิงแอนน์ วาง |
[[ไฟล์:เจ้าหญิงแอนน์ วางศิลาฤกษ์.jpg|thumb|[[เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี|เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี แห่งสหราชอาณาจักร]] [[การวางศิลาฤกษ์|วางศิลาฤกษ์]]อาคารเรียนโรงเรียนประชาบดี]] |
||
ในการนี้ผู้มีจิตศรัทธาให้ความร่วมมือสนับสนุนช่วยนำไปจำหน่ายจำนวนมากเกินความคาดหมาย ประกอบกับผู้มีผู้ร่วมกันจัดทอดผ้าป่าสามัคคีหารายได้สมบททุนสร้างอาคารเรียนจากคณะรวมน้ำใจ ผู้มีจิตศรัทธาบางท่านได้อนุเคราะห์รวบรวมเงินจากคนไทยในสหรัฐอเมริกาส่งมาช่วยเหลือ และอีกหลายท่านที่ไม่สามารถจะเอ่ยนามได้หมดยังความปลาบปลื้มในความกรุณาที่หลั่งไหลเข้ามาสู่เด็กพิการในสถานสงเคราะห์ |
ในการนี้ผู้มีจิตศรัทธาให้ความร่วมมือสนับสนุนช่วยนำไปจำหน่ายจำนวนมากเกินความคาดหมาย ประกอบกับผู้มีผู้ร่วมกันจัดทอดผ้าป่าสามัคคีหารายได้สมบททุนสร้างอาคารเรียนจากคณะรวมน้ำใจ ผู้มีจิตศรัทธาบางท่านได้อนุเคราะห์รวบรวมเงินจากคนไทยในสหรัฐอเมริกาส่งมาช่วยเหลือ และอีกหลายท่านที่ไม่สามารถจะเอ่ยนามได้หมดยังความปลาบปลื้มในความกรุณาที่หลั่งไหลเข้ามาสู่เด็กพิการในสถานสงเคราะห์ |
||
ในปี[[พ.ศ. 2530|พุทธศักราช 2530]] ความฝันของเด็กพิการเริ่มเด่นชัดในความเป็นจริง เพื่อรณรงค์สร้างอาคารเรียนบรรลุตามเป้าหมาย ได้มีการ[[การวางศิลาฤกษ์|วางศิลาฤกษ์]]อาคารเรียนโรงเรียนประชาบดี เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2530 โดย[[เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี|เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี แห่งสหราชอาณาจักร]] |
ในปี[[พ.ศ. 2530|พุทธศักราช 2530]] ความฝันของเด็กพิการเริ่มเด่นชัดในความเป็นจริง เพื่อรณรงค์สร้างอาคารเรียนบรรลุตามเป้าหมาย ได้มีการ[[การวางศิลาฤกษ์|วางศิลาฤกษ์]]อาคารเรียนโรงเรียนประชาบดี เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2530 โดย[[เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี|เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี แห่งสหราชอาณาจักร]] |
||
⚫ | |||
⚫ | |||
แต่เนื่องจากความต้องการที่จะเป็นโรงเรียนเตรียมความพร้อมสำหรับเด็กพิการที่สมบูรณ์ เป็นแห่งแรกของกรมประชาสงเคราะห์ จึงได้มีการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อหาข้อสรุปในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้แบบอาคารที่เหมาะสม และเอื้อประโยชน์กับสภาพความพิการของเด็กในสถานสงเคราะห์ให้ได้มากที่สุด จึงไม่มีการปรับปรุงแบบอาคารและในขณะเดียวกันราคาวัสดุก่อสร้างอาคารเรียนปรับตัวสูงขึ้นถึงเจ็ดล้านห้าแสนบาท จึงต้องมีการรณรงค์หาเงินบริจาคเพื่อสมทบทุนเพิ่มเติมจนครบ การก่อสร้างโรงเรียนจึงเริ่มก่อสร้างในปี[[พ.ศ. 2534|พุทธศักราช 2534]] โดยสถานสงเคราะห์ฯ ได้รับความร่วมมือจากมูลนิธิสงเคราะห์และฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการในหลายประการ การก่อสร้างและการตกแต่งภายในอาคารจึงเสร็จในปี[[พ.ศ. 2536|พุทธศักราช 2536]] รวมระยะเวลาในการเพียรพยายามสร้างโรงเรียนเตรียมความพร้อมเด็กพิการแห่งนี้ถึง 9 ปี |
แต่เนื่องจากความต้องการที่จะเป็นโรงเรียนเตรียมความพร้อมสำหรับเด็กพิการที่สมบูรณ์ เป็นแห่งแรกของกรมประชาสงเคราะห์ จึงได้มีการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อหาข้อสรุปในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้แบบอาคารที่เหมาะสม และเอื้อประโยชน์กับสภาพความพิการของเด็กในสถานสงเคราะห์ให้ได้มากที่สุด จึงไม่มีการปรับปรุงแบบอาคารและในขณะเดียวกันราคาวัสดุก่อสร้างอาคารเรียนปรับตัวสูงขึ้นถึงเจ็ดล้านห้าแสนบาท จึงต้องมีการรณรงค์หาเงินบริจาคเพื่อสมทบทุนเพิ่มเติมจนครบ การก่อสร้างโรงเรียนจึงเริ่มก่อสร้างในปี[[พ.ศ. 2534|พุทธศักราช 2534]] โดยสถานสงเคราะห์ฯ ได้รับความร่วมมือจากมูลนิธิสงเคราะห์และฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการในหลายประการ การก่อสร้างและการตกแต่งภายในอาคารจึงเสร็จในปี[[พ.ศ. 2536|พุทธศักราช 2536]] รวมระยะเวลาในการเพียรพยายามสร้างโรงเรียนเตรียมความพร้อมเด็กพิการแห่งนี้ถึง 9 ปี |
||
⚫ | |||
⚫ | |||
ในปี[[พ.ศ. 2536|พุทธศักราช 2536]] [[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี|สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารเรียนโรงเรียนประชาบดี เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2536 และได้ทำการเปิดบริการแก่เด็กพิเศษทุกประเภท ในสถานสงเคราะห์ต่างๆใกล้เคียง พร้อมทั้งเด็กพิเศษในชุมชนใกล้เคียง โดยจัดการศึกษาให้กับนักเรียนเป็น 2 ระดับ คือ ปฐมวัยและประถมศึกษา โดยเฉพาะนักเรียนระดับประถมศึกษาได้ประสานกับโรงเรียนประชาสงเคราะห์บ้านปากเกร็ด |
ในปี[[พ.ศ. 2536|พุทธศักราช 2536]] [[สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี|สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี]] เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารเรียนโรงเรียนประชาบดี เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2536 และได้ทำการเปิดบริการแก่เด็กพิเศษทุกประเภท ในสถานสงเคราะห์ต่างๆใกล้เคียง พร้อมทั้งเด็กพิเศษในชุมชนใกล้เคียง โดยจัดการศึกษาให้กับนักเรียนเป็น 2 ระดับ คือ ปฐมวัยและประถมศึกษา โดยเฉพาะนักเรียนระดับประถมศึกษาได้ประสานกับโรงเรียนประชาสงเคราะห์บ้านปากเกร็ด |
||
ในปี[[พ.ศ. 2544|พุทธศักราช 2544]] กรมประชาสงเคราะห์มีความประสงค์จะโอนภารกิจด้านการศึกษาให้กับ[[กรมสามัญศึกษา]] [[กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)|กระทรวงศึกษาธิการ]] จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการการศึกษาหาแนวทางและรูปแบบสำหรับการจัดตั้งโรงเรียนเพื่อดำเนินการ แต่เนื่องจากโรงเรียนประชาบดี ไม่ได้จัดตั้งเป็นโรงเรียน [[กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ]] (กรมประชาสงเคราะห์) จึงได้ดำเนินการจัดตั้งเพื่อให้ถูกต้องตามกฎหมาย |
ในปี[[พ.ศ. 2544|พุทธศักราช 2544]] กรมประชาสงเคราะห์มีความประสงค์จะโอนภารกิจด้านการศึกษาให้กับ[[กรมสามัญศึกษา]] [[กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)|กระทรวงศึกษาธิการ]] จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการการศึกษาหาแนวทางและรูปแบบสำหรับการจัดตั้งโรงเรียนเพื่อดำเนินการ แต่เนื่องจากโรงเรียนประชาบดี ไม่ได้จัดตั้งเป็นโรงเรียน [[กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ]] (กรมประชาสงเคราะห์) จึงได้ดำเนินการจัดตั้งเพื่อให้ถูกต้องตามกฎหมาย |
||
⚫ | |||
ในปี[[พ.ศ. 2548|พุทธศักราช 2548]] ในวันที่ 6 พฤษภาคม 2548 โรงเรียนประชาบดีได้รับอนุญาต ให้จัดตั้งเป็นโรงเรียนเอกชน มาตรา 15 (3) ประเภทสามัญศึกษา โดยใช้ชื่อว่า “โรงเรียนประชาบดี” ตั้งอยู่เลขที่ 78/5 ซอยติวานนท์ – ปากเกร็ด 1 หมู่ 1 ตำบลบางตลาด [[อำเภอปากเกร็ด]] [[จังหวัดนนทบุรี]] เปิดสอนระดับปฐมวัย ถึงประถมศึกษา เปิดทำการสอนตั้งแต่ เวลา 08.30 ถึง 16.30 นาฬิกา พักกลางวันตั้งแต่ 12.00 ถึง 13.00 นาฬิกา บริเวณโรงเรียนมีเนื้อที่จำนวน 2 ไร่ 95 ตารางวา ใช้[[หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551|หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน]] ของ[[กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)|กระทรวงศึกษาธิการ]] รับนักเรียนได้ไม่เกิน 240 คน จำนวน 9 ห้องเรียน รับนักเรียนประเภทไป - กลับ อายุ 5 – 15 ปี ในหนึ่งปีการศึกษา แบ่งภาคเรียนออกเป็น 2 ภาค ภาคต้นตั้งแต่ 16 พฤษภาคม ถึง 10 ตุลาคม ภาคปลายตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน ถึง 31 มีนาคม วันหยุดประจำสัปดาห์ วันเสาร์ - อาทิตย์ โรงเรียนเปิดทำการสอนตั้งแต่ปีการศึกษา 2548<ref |
ในปี[[พ.ศ. 2548|พุทธศักราช 2548]] ในวันที่ 6 พฤษภาคม 2548 โรงเรียนประชาบดีได้รับอนุญาต ให้จัดตั้งเป็นโรงเรียนเอกชน มาตรา 15 (3) ประเภทสามัญศึกษา โดยใช้ชื่อว่า “โรงเรียนประชาบดี” ตั้งอยู่เลขที่ 78/5 ซอยติวานนท์ – ปากเกร็ด 1 หมู่ 1 ตำบลบางตลาด [[อำเภอปากเกร็ด]] [[จังหวัดนนทบุรี]] เปิดสอนระดับปฐมวัย ถึงประถมศึกษา เปิดทำการสอนตั้งแต่ เวลา 08.30 ถึง 16.30 นาฬิกา พักกลางวันตั้งแต่ 12.00 ถึง 13.00 นาฬิกา บริเวณโรงเรียนมีเนื้อที่จำนวน 2 ไร่ 95 ตารางวา ใช้[[หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551|หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน]] ของ[[กระทรวงศึกษาธิการ (ประเทศไทย)|กระทรวงศึกษาธิการ]] รับนักเรียนได้ไม่เกิน 240 คน จำนวน 9 ห้องเรียน รับนักเรียนประเภทไป - กลับ อายุ 5 – 15 ปี ในหนึ่งปีการศึกษา แบ่งภาคเรียนออกเป็น 2 ภาค ภาคต้นตั้งแต่ 16 พฤษภาคม ถึง 10 ตุลาคม ภาคปลายตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน ถึง 31 มีนาคม<ref>{{Cite web|last=pubhtml5.com|title=แนะนำโรงเรียนประชาบดี|url=https://pubhtml5.com/kfia/ulgl/|website=Pubhtml5|language=th}}</ref> วันหยุดประจำสัปดาห์ วันเสาร์ - อาทิตย์ โรงเรียนเปิดทำการสอนตั้งแต่ปีการศึกษา 2548<ref>{{Citation|last=Chucheep Rungsomret|title=โรงเรียนประชาบดี (บ้านนนทภูมิ) HD PCBD 2.avi|date=2012-10-08|url=https://www.youtube.com/watch?v=YDJiOSREhSc|access-date=2024-10-05}}</ref> |
||
== สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน == |
== สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน == |
||
=== ตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียน === |
=== ตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียน === |
||
⚫ | |||
ตราของโรงเรียน เป็นแบบรูปวงกลมวงซ้อนกันระหว่างเส้นรอบวงของวงกลมทั้งสอง ด้านบนมีชื่อ “โรงเรียนประชาบดี” และด้านล่างเป็นชื่อ “[[อำเภอปากเกร็ด]] [[จังหวัดนนทบุรี]]” เป็นที่ตั้งของโรงเรียนภายในวงกลมเป็นลายโปร่งมีสัญลักษณ์ [[พระประชาบดี]] ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์ของ[[กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ]] อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และเป็นศูนย์รวมจิตใจของข้าราชการ เจ้าหน้าที่ ครู นักเรียน และผู้ปฏิบัติงาน |
ตราของโรงเรียน เป็นแบบรูปวงกลมวงซ้อนกันระหว่างเส้นรอบวงของวงกลมทั้งสอง ด้านบนมีชื่อ “โรงเรียนประชาบดี” และด้านล่างเป็นชื่อ “[[อำเภอปากเกร็ด]] [[จังหวัดนนทบุรี]]” เป็นที่ตั้งของโรงเรียนภายในวงกลมเป็นลายโปร่งมีสัญลักษณ์ [[พระประชาบดี]] ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์ของ[[กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ]] อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และเป็นศูนย์รวมจิตใจของข้าราชการ เจ้าหน้าที่ ครู นักเรียน และผู้ปฏิบัติงาน<ref>{{Cite web|last=pubhtml5.com|title=คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง|url=https://pubhtml5.com/kfia/hgmw/|website=Pubhtml5|language=th}}</ref> |
||
== รายนามครูใหญ่และผู้อำนวยการโรงเรียนประชาบดี == |
== รายนามครูใหญ่และผู้อำนวยการโรงเรียนประชาบดี<ref>{{Cite web|last=pubhtml5.com|title=สารสนเทศโรงเรียนประชาบดี 2565|url=https://pubhtml5.com/kfia/tqan/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%94%E0%B8%B5_2565/25|website=Pubhtml5|language=en}}</ref> == |
||
{| class="wikitable" |
{| class="wikitable" style="text-align:center" |
||
⚫ | |||
! |
|||
==== '''ลำดับ''' ==== |
|||
! |
|||
==== ภาพ ==== |
|||
! |
|||
==== '''รายนาม''' ==== |
|||
! |
|||
⚫ | |||
|- |
|- |
||
⚫ | |||
⚫ | |||
⚫ | |||
===== 1 ===== |
|||
|1 |
|||
|[[ไฟล์:ผอ.พเยาว์.jpg|center|frameless|141x141px]] |
|||
⚫ | |||
|นางพเยาว์ บังผล |
|นางพเยาว์ บังผล |
||
|พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2560 |
|พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2560 |
||
|- |
|- |
||
| |
|2 |
||
| |
|||
===== 2 ===== |
|||
|[[ไฟล์:ผอ.สมมารถ.jpg|center|frameless|128x128px]] |
|||
|นางสมมารถ จิตยุติ |
|นางสมมารถ จิตยุติ |
||
|พ.ศ. 2560 - พ.ศ. 2562 |
|พ.ศ. 2560 - พ.ศ. 2562 |
||
|- |
|- |
||
| |
|3 |
||
| |
|||
===== 3 ===== |
|||
| |
|นางสาวเยาวลักษณ์ ไวยธารี |
||
|นางสาวเยาวลักษณ์ ไวยธารี |
|||
|พ.ศ. 2562 - ปัจจุบัน |
|พ.ศ. 2562 - ปัจจุบัน |
||
|} |
|} |
||
บรรทัด 107: | บรรทัด 98: | ||
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในอำเภอปากเกร็ด]] |
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในอำเภอปากเกร็ด]] |
||
}} |
}} |
||
{{AfC submission|||ts=20241005133524|u=IPPNP|ns=118}} |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 21:16, 15 ตุลาคม 2567
นี่คือบทความฉบับร่างซึ่งเปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถแก้ไขได้ โปรดตรวจสอบว่าเนื้อหามีลักษณะเป็นสารานุกรมและมีความโดดเด่นควรแก่การรู้จักก่อนที่จะเผยแพร่เป็นบทความลงในวิกิพีเดีย กรุณาอดทนรอผู้เขียนคนอื่นมาช่วยตรวจให้ อย่าย้ายหน้าไปเป็นบทความเองโดยพลการ ค้นหาข้อมูล: Google (books · news · newspapers · scholar · free images · WP refs) · FENS · JSTOR · NYT · TWL สำคัญ: ถ้าลบป้ายนี้ออกจะทำให้บันทึกหน้าไม่ได้ ผู้แก้ไขหน้านี้คนล่าสุด คือ IPPNP (พูดคุย | เรื่องที่เขียน) เมื่อ 24 วันก่อน (ล้างแคช)
ฉบับร่างนี้ถูกส่งสำหรับการทบทวนแล้วและกำลังรอการทบทวน |
บทความนี้คล้ายโฆษณาหรือประชาสัมพันธ์
วิกิพีเดียมิใช่ช่องทางการสื่อสารการตลาดของหน่วยธุรกิจใด ๆ กรุณาเขียนใหม่ด้วยมุมมองที่เป็นกลาง และนำแหล่งข้อมูลอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องออก |
โรงเรียนประชาบดี เป็นโรงเรียนเอกชนการกุศล ประเภทการศึกษาพิเศษ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนนทบุรี สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ที่ 78/5 หมู่ 1 ตำบลบางตลาด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี[1][2]
โรงเรียนประชาบดี Prachabodee School | |
---|---|
ที่ตั้ง | |
ประเทศไทย | |
ข้อมูล | |
ชื่ออื่น | บ.ป. , PCBD |
ประเภทโรงเรียน | การศึกษาพิเศษ เอกชนการกุศล |
คำขวัญ | เป็นคนดี มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ เชิดชูคุณธรรม |
สถาปนา | 6 พฤษภาคม 2548 (19 ปี 186 วัน) |
หมายเลข | 1112100110 |
ผู้อำนวยการ | นางสาวเยาวลักษณ์ ไวยธารี |
ผู้รับใบอนุญาต | นายพฤฒินันท์ เหลืองไพบูลย์ |
ผู้จัดการ | นายพฤฒินันท์ เหลืองไพบูลย์ |
ประธานนักเรียน | นายพรหมประสิทธิ์ ศรีหะไกร |
ประธานเครือข่ายผู้ปกครอง | นางสาวขณิดา คัณฑิสุวรรณ |
ชั้นเรียนที่เปิดสอน | ระดับปฐมวัย ถึงระดับประถมศึกษา |
พื้นที่ | 2 ไร่ 95 ตารางวา |
สี | สีม่วง – สีน้ำเงิน |
สัญลักษณ์ | พระประชาบดี |
เว็บไซต์ | https://www.prachabodee.ac.th |
ประวัติโรงเรียน
[แก้]สถานสงเคราะห์เด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด ได้ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2513 สถานสงเคราะห์แห่งนี้ได้ดำเนินการให้การอุปการะเลี้ยงดูและฟื้นฟูปรับสภาพความพิการ เพื่อให้เด็กพิการผู้ด้อยโอกาสเหล่านี้สามารถช่วยเหลือตนเองให้ได้มากที่สุด นอกจากการให้การเลี้ยงดูในด้านความเป็นอยู่และฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายแล้ว ปัจจัยสำคัญที่จะเป็นหนทางนำเด็กพิการไปสู่ความสามารถที่จะพึ่งพาเลี้ยงตนเองได้นั้น คือการศึกษา ซึ่งสถานสงเคราะห์ได้ดำเนินการให้การศึกษาแก่เด็กพิการมาตั้งแต่ยังไม่เป็นรูปแบบที่เด่นชัด ทั้งนี้เนื่องจากปัญหาอุปสรรคทั้งในด้านตัวเด็กพิการ ครูผู้สอน และปัญหาด้านอาคารสถานที่ สำหรับปัญหาในตัวเด็กพิการ ได้แก่ สภาพความพิการของเด็กสถานสงเคราะห์ ส่วนใหญ่เป็นลักษณะพิการซ้ำซ้อน และช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ทั้งนี้เนื่องจากขาดการส่งเสริมให้มีพัฒนาการที่ถูกต้อง สำหรับปัญหาด้านครูที่สถานสงเคราะห์ เป็นครูสามัญ ไม่มีความรู้ทางด้านการศึกษาพิเศษสอนเด็กพิการโดยตรง นอกจากนั้นในด้านอาคารสถานที่เรียนยังไม่เอื้ออำนวยต่อสภาพการเรียนการสอนอีกด้วย เช่น สภาพห้องเรียนเป็นเพิงโปร่งไม่มีฝากั้น ต้องใช้โรงจอดรถเป็นห้องเรียน และห้องเรียนกระจัดกระจายไม่เป็นสัดส่วน บางห้องอบอ้าว คับแคบ เป็นอุปสรรคต่อการเรียนของเด็กที่มีสภาพความพิการที่หลากหลาย
ในปีพุทธศักราช 2524 สถานสงเคราะห์ ได้ขอความร่วมมือไปยังกองการศึกษาพิเศษ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดโครงการสอนเด็กพิการและทุพพลภาพ ปากเกร็ด ส่งครูการศึกษาพิเศษ มาช่วยจัดการเรียนการสอนแก่เด็กพิการ ขณะเดียวกันสถานสงเคราะห์ได้ส่งบุคลากรเข้าอบรมหลักสูตรการศึกษาพิเศษ มีผลช่วยให้เด็กพิการได้รับการพัฒนาด้านการศึกษาอย่างเต็มที่ และเด็กพิการได้รับโอกาสพัฒนาความสามารถขั้นเตรียมความพร้อมก่อนเข้าโรงเรียนภายนอกอีกทั้งผู้ที่มีสภาพความพิการอย่างรุนแรงไม่สามารถไปเรียนภายนอกก็ได้รับโอกาสการเรียนการสอนวัดผลความรู้ในสถานสงเคราะห์ด้วย[3]
สถานสงเคราะห์ฯ สามารถแก้ปัญหาด้านเด็กผู้รับการสงเคราะห์และครูผู้สอนได้แล้ว แต่มีปัญหาด้านอาคารสถานที่ยังเป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอนของเด็กพิการอยู่มาก เนื่องจากสถานสงเคราะห์ขาดงบประมาณในการจัดสร้างอาคารเรียนที่เหมาะสม ดังนั้นในปีพุทธศักราช 2526 สถานสงเคราะห์เด็กพิการและทุพพลภาพปากเกร็ด จึงได้จัดทำโครงการสร้างอาคารเรียนภายในสำหรับเด็กพิการในสถานสงเคราะห์ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เด็กพิการในสถานสงเคราะห์ ได้มีอาคารที่เหมาะสมกับสภาพความพิการ และเตรียมความพร้อมด้านการเรียนก่อนที่จะออกไปเรียนยังโรงเรียนภายนอก สำหรับงบประมาณในการจัดสร้างอาคารในระยะแรกเป็นเงินๆ ประมาณสามล้านบาท สถานสงเคราะห์ได้ดำเนินการรณรงค์หาเงินบริจาคจากผู้มีจิตศรัทธา ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2528 เป็นต้นมา โดยมีผู้ร่วมแรงร่วมใจกันสร้างสานความฝันสำหรับอาคารเรียนเด็กพิการ จากมวลชนทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและเอกชน เริ่มจากสถานสงเคราะห์ได้จัดทำระฆังเซรามิคเพ้นท์ โดยฝีมือเด็กพิการออกจำหน่ายใบละยี่สิบบาทมีคำเชิญชวนด้วยบทกลอนจากใจเด็กพิการจารึกอยู่ข้างกล่องระฆังนี้
เสียงระฆัง ดังสัญญาณ การศึกษา
ส่งสัญญาณ ความเมตตา คือการให้
สละทรัพย์ ซื้อระฆัง ให้ดังไกล
เพื่อช่วยให้ พวกหนูนี้ มีโรงเรียน
ในการนี้ผู้มีจิตศรัทธาให้ความร่วมมือสนับสนุนช่วยนำไปจำหน่ายจำนวนมากเกินความคาดหมาย ประกอบกับผู้มีผู้ร่วมกันจัดทอดผ้าป่าสามัคคีหารายได้สมบททุนสร้างอาคารเรียนจากคณะรวมน้ำใจ ผู้มีจิตศรัทธาบางท่านได้อนุเคราะห์รวบรวมเงินจากคนไทยในสหรัฐอเมริกาส่งมาช่วยเหลือ และอีกหลายท่านที่ไม่สามารถจะเอ่ยนามได้หมดยังความปลาบปลื้มในความกรุณาที่หลั่งไหลเข้ามาสู่เด็กพิการในสถานสงเคราะห์
ในปีพุทธศักราช 2530 ความฝันของเด็กพิการเริ่มเด่นชัดในความเป็นจริง เพื่อรณรงค์สร้างอาคารเรียนบรรลุตามเป้าหมาย ได้มีการวางศิลาฤกษ์อาคารเรียนโรงเรียนประชาบดี เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2530 โดยเจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี แห่งสหราชอาณาจักร
แต่เนื่องจากความต้องการที่จะเป็นโรงเรียนเตรียมความพร้อมสำหรับเด็กพิการที่สมบูรณ์ เป็นแห่งแรกของกรมประชาสงเคราะห์ จึงได้มีการศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อหาข้อสรุปในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้แบบอาคารที่เหมาะสม และเอื้อประโยชน์กับสภาพความพิการของเด็กในสถานสงเคราะห์ให้ได้มากที่สุด จึงไม่มีการปรับปรุงแบบอาคารและในขณะเดียวกันราคาวัสดุก่อสร้างอาคารเรียนปรับตัวสูงขึ้นถึงเจ็ดล้านห้าแสนบาท จึงต้องมีการรณรงค์หาเงินบริจาคเพื่อสมทบทุนเพิ่มเติมจนครบ การก่อสร้างโรงเรียนจึงเริ่มก่อสร้างในปีพุทธศักราช 2534 โดยสถานสงเคราะห์ฯ ได้รับความร่วมมือจากมูลนิธิสงเคราะห์และฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการในหลายประการ การก่อสร้างและการตกแต่งภายในอาคารจึงเสร็จในปีพุทธศักราช 2536 รวมระยะเวลาในการเพียรพยายามสร้างโรงเรียนเตรียมความพร้อมเด็กพิการแห่งนี้ถึง 9 ปี ในปีพุทธศักราช 2536 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดอาคารเรียนโรงเรียนประชาบดี เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2536 และได้ทำการเปิดบริการแก่เด็กพิเศษทุกประเภท ในสถานสงเคราะห์ต่างๆใกล้เคียง พร้อมทั้งเด็กพิเศษในชุมชนใกล้เคียง โดยจัดการศึกษาให้กับนักเรียนเป็น 2 ระดับ คือ ปฐมวัยและประถมศึกษา โดยเฉพาะนักเรียนระดับประถมศึกษาได้ประสานกับโรงเรียนประชาสงเคราะห์บ้านปากเกร็ด
ในปีพุทธศักราช 2544 กรมประชาสงเคราะห์มีความประสงค์จะโอนภารกิจด้านการศึกษาให้กับกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการการศึกษาหาแนวทางและรูปแบบสำหรับการจัดตั้งโรงเรียนเพื่อดำเนินการ แต่เนื่องจากโรงเรียนประชาบดี ไม่ได้จัดตั้งเป็นโรงเรียน กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (กรมประชาสงเคราะห์) จึงได้ดำเนินการจัดตั้งเพื่อให้ถูกต้องตามกฎหมาย
ในปีพุทธศักราช 2548 ในวันที่ 6 พฤษภาคม 2548 โรงเรียนประชาบดีได้รับอนุญาต ให้จัดตั้งเป็นโรงเรียนเอกชน มาตรา 15 (3) ประเภทสามัญศึกษา โดยใช้ชื่อว่า “โรงเรียนประชาบดี” ตั้งอยู่เลขที่ 78/5 ซอยติวานนท์ – ปากเกร็ด 1 หมู่ 1 ตำบลบางตลาด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เปิดสอนระดับปฐมวัย ถึงประถมศึกษา เปิดทำการสอนตั้งแต่ เวลา 08.30 ถึง 16.30 นาฬิกา พักกลางวันตั้งแต่ 12.00 ถึง 13.00 นาฬิกา บริเวณโรงเรียนมีเนื้อที่จำนวน 2 ไร่ 95 ตารางวา ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของกระทรวงศึกษาธิการ รับนักเรียนได้ไม่เกิน 240 คน จำนวน 9 ห้องเรียน รับนักเรียนประเภทไป - กลับ อายุ 5 – 15 ปี ในหนึ่งปีการศึกษา แบ่งภาคเรียนออกเป็น 2 ภาค ภาคต้นตั้งแต่ 16 พฤษภาคม ถึง 10 ตุลาคม ภาคปลายตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน ถึง 31 มีนาคม[4] วันหยุดประจำสัปดาห์ วันเสาร์ - อาทิตย์ โรงเรียนเปิดทำการสอนตั้งแต่ปีการศึกษา 2548[5]
สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน
[แก้]ตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียน
[แก้]ตราของโรงเรียน เป็นแบบรูปวงกลมวงซ้อนกันระหว่างเส้นรอบวงของวงกลมทั้งสอง ด้านบนมีชื่อ “โรงเรียนประชาบดี” และด้านล่างเป็นชื่อ “อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี” เป็นที่ตั้งของโรงเรียนภายในวงกลมเป็นลายโปร่งมีสัญลักษณ์ พระประชาบดี ซึ่งเป็นตราสัญลักษณ์ของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และเป็นศูนย์รวมจิตใจของข้าราชการ เจ้าหน้าที่ ครู นักเรียน และผู้ปฏิบัติงาน[6]
ลำดับ | ภาพ | รายนาม | วาระการดำรงตำแหน่ง |
1 | นางพเยาว์ บังผล | พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2560 | |
2 | นางสมมารถ จิตยุติ | พ.ศ. 2560 - พ.ศ. 2562 | |
3 | นางสาวเยาวลักษณ์ ไวยธารี | พ.ศ. 2562 - ปัจจุบัน |
ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียง
[แก้]นางสาวอรวรรณ ฉิมแป้น นักกีฬากรีฑาพาราลิมปิกทีมชาติไทย[8]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "โรงเรียนประชาบดี". www.prachabodee.ac.th.
- ↑ pubhtml5.com. "SAR ประชาบดี 2564". Pubhtml5.
- ↑ ส่วนสื่อการศึกษาเพื่อคนพิการ (2013-09-02), รายการชีวิตเลือกได้ ตอน "โรงเรียนของเรา..ประชาบดี", สืบค้นเมื่อ 2024-10-05
- ↑ pubhtml5.com. "แนะนำโรงเรียนประชาบดี". Pubhtml5.
- ↑ Chucheep Rungsomret (2012-10-08), โรงเรียนประชาบดี (บ้านนนทภูมิ) HD PCBD 2.avi, สืบค้นเมื่อ 2024-10-05
- ↑ pubhtml5.com. "คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง". Pubhtml5.
- ↑ pubhtml5.com. "สารสนเทศโรงเรียนประชาบดี 2565". Pubhtml5 (ภาษาอังกฤษ).
- ↑ "'ประวัติ' ควบวีลแชร์ผงาดแชมป์โซโล 2022 'อรวรรณ' วิ่งคว้าทอง 400 ม." มติชน.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]โปรดรอสักครู่
หน้านี้อาจใช้ระยะเวลานานถึงหนึ่งสัปดาห์ เนื่องจากฉบับร่างจะได้รับการทบทวนตามลำดับ ขณะนี้มี 123 หน้าที่กำลังรอการทบทวน
ขอความช่วยเหลือ
วิธีปรับปรุงบทความของคุณ
คุณยังสามารถดู วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร และ วิกิพีเดีย:บทความคุณภาพ เพื่อค้นหาตัวอย่างบทความที่ดีที่สุดของวิกิพีเดียในหัวข้อที่คล้ายกับบทความที่คุณแจ้งทบทวน ทรัพยากรการแก้ไข
|