ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิถีเมแทบอลิซึม"
ล บอตแก้คำ |
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: แก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
||
(ไม่แสดง 38 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 24 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
{{ขาดอ้างอิง}} |
|||
ในทาง[[ชีวเคมี]] '''เมตาโบลิก พาทเวย์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Metabolic pathway) เป็นชุดของปฏิกริยา[[เคมี]] ที่เกิดขึ้นใน[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]] โดยมี[[เอ็นไซม์]]เร่งปฏิกริยา เป็นผลให้เกิดสารที่ได้จากกระบวนการเมตาโบลิซึม (metabolic product) เพื่อการใช้งานหรือเก็บสะสมในเซลล์ หรือกระตุ้นให้เกิดกระบวนการ[[การเผาผลาญ|เมตาโบลิก]] พาทเวย์ อื่นต่อไป (ซึ่งเรียกว่า ''ฟลักซ์ เจเนอริ่ง สเตป'' (flux generating step)) |
|||
ในทาง[[ชีวเคมี]] '''วิถีเมแทบอลิซึม''' ({{lang-en|metabolic pathway}}) คือ [[ปฏิกิริยาเคมี]]ในสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องกันเป็นลำดับขั้นตอน ในแต่ละวิถี สารเคมีหลักจะเกิดปฏิกิริยาเคมีและเปลี่ยนไปเป็นสารอื่น โดยมี[[เอนไซม์]]เป็น[[ตัวเร่งปฏิกิริยา]] และมักต้องอาศัยแร่ธาตุ [[วิตามิน]]และ[[โคแฟกเตอร์]]อื่น ๆ จึงจะดำเนินไปอย่างเหมาะสม เพราะมีสารเคมีจำนวนมาก ("เมแทบอไลต์") เข้ามาเกี่ยวข้อง วิถีเมแทบอลิซึมจึงอาจค่อนข้างซับซ้อน ยิ่งไปกว่านั้น วิถีซึ่งแตกต่างกันจำนวนมากเกิดร่วมกันในเซลล์ หมู่วิถีนี้เรียกว่า ''เครือข่ายเมแทบอลิซึม'' วิถีเมแทบอลิซึมสำคัญต่อการรักษา[[ภาวะธำรงดุล]] (homeostasis) ใน[[สิ่งมีชีวิต]] วิถี[[แคแทบอลิซึม]]และ[[แอแนบอลิซึม]]มักทำงานพึ่งพาอาศัยกันเพื่อสร้าง[[โมเลกุลชีวภาพ]]ใหม่เป็นผลิตภัณฑ์สุดท้าย |
|||
วิถีเมแทบอลิซึมเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสารตั้งต้นทีละขั้นเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์ที่ได้มานั้นสามารถนำไปใช้ได้สามทาง คือ |
|||
⚫ | |||
* นำไปใช้ทันที |
|||
⚫ | |||
* เป็นสารตั้งต้นในวิถีเมแทบอลิซึมอื่น เรียกว่า flux generating step |
|||
* เป็นปฏิกริยาที่ไม่ย้อนกลับเพราะมันเป็นปฏิกริยาที่แตกสะลายและมีการปลดปล่อยพลังงานออกมา จึงเป็นปฏิกริยาทางเดียว |
|||
* เซลล์นำไปเก็บสะสมไว้ |
|||
⚫ | |||
⚫ | |||
โมเลกุลที่เป็นสารตั้งต้นเข้าสู่วิถีเมแทบอลิซึมขึ้นอยู่กับความต้องการของเซลล์และการพร้อมใช้งานของสารตั้งต้น การเพิ่มความเข้มข้นของสารตัวกลางแอแนบอลิซึมและแคแทบอลิซึม และ/หรือ ผลิตภัณฑ์อาจส่งผลต่ออัตราเมแทบอลิซึมในแต่ละวิถีนั้น ๆ |
|||
==เมตาโบลิก พาทเวย์ ส่วนใหญ่== |
|||
⚫ | |||
⚫ | |||
⚫ | |||
⚫ | |||
#[[กริ๊บ ไซเคิล]] (Krebs cycle) / [[ซิตริก ไซเคิล]] (Citric acid cycle) |
|||
⚫ | |||
⚫ | |||
⚫ | |||
⚫ | |||
⚫ | |||
⚫ | |||
* [[กลูโคนีโอเจนิสิส]] (Gluconeogenesis) |
|||
⚫ | |||
⚫ | |||
* [[เพนโตส ฟอสเฟต พาทเวย์]] (hexose monophosphate shunt) |
|||
== รายการวิถีเมแทบอลิซึม == |
|||
* [[พอร์ไฟริน]] ซินทีสิส (หรือ [[heme]] synthesis) พาทเวย์ |
|||
⚫ | |||
⚫ | |||
{{บทความหลัก|การหายใจระดับเซลล์}} |
|||
⚫ | |||
⚫ | |||
⚫ | |||
# [[วัฏจักรเครปส์]] (Krebs cycle) |
|||
⚫ | |||
⚫ | |||
⚫ | |||
* [[การสร้างกลูโคส]] (Gluconeogenesis) |
|||
⚫ | |||
* [[วิถีเพนโตสฟอสเฟต]] (hexose monophosphate shunt) |
|||
* วิถีการสังเคราะห์[[พอร์ไฟริน]] (heme synthesis) |
|||
⚫ | |||
การสร้างสารประกอบพลังงานจากสสารที่ไม่มีชีวิต: |
การสร้างสารประกอบพลังงานจากสสารที่ไม่มีชีวิต: |
||
บรรทัด 27: | บรรทัด 35: | ||
* [[การสังเคราะห์เคมี]] (Chemosynthesis-some bacteria) |
* [[การสังเคราะห์เคมี]] (Chemosynthesis-some bacteria) |
||
==ดูเพิ่ม== |
== ดูเพิ่ม == |
||
* [[เมแทบอลิซึมของเซลล์]] |
|||
*[[Cell metabolism|catabolism]] |
|||
== แหล่งข้อมูลอื่น == |
|||
==ลิงก์ภายนอก== |
|||
* [[Open Directory Project]]: [http://www.dmoz.org/Science/Biology/Biochemistry_and_Molecular_Biology/Metabolic_Pathways/ Metabolic Pathways] |
* [[Open Directory Project]]: [http://www.dmoz.org/Science/Biology/Biochemistry_and_Molecular_Biology/Metabolic_Pathways/ Metabolic Pathways] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20051129102750/http://dmoz.org/Science/Biology/Biochemistry_and_Molecular_Biology/Metabolic_Pathways/ |date=2005-11-29 }} |
||
* [http://www.biochemweb.org/metabolism.shtml Metabolism, Cellular Respiration and Photosynthesis - The Virtual Library of Biochemistry and Cell Biology] |
* [http://www.biochemweb.org/metabolism.shtml Metabolism, Cellular Respiration and Photosynthesis - The Virtual Library of Biochemistry and Cell Biology] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20050316052050/http://www.biochemweb.org/metabolism.shtml |date=2005-03-16 }} |
||
* [http://www.genome.jp/kegg/ KEGG: Kyoto Encyclopedia of Genes and Genomes] |
* [http://www.genome.jp/kegg/ KEGG: Kyoto Encyclopedia of Genes and Genomes] |
||
{{เรียงลำดับ|มเตาโบลิก พาทเวย์}} |
|||
{{โครงชีวเคมี}} |
{{โครงชีวเคมี}} |
||
⚫ | |||
[[Category:Metabolism]] |
|||
[[หมวดหมู่:เมแทบอลิซึม]] |
|||
[[de:Stoffwechselweg]] |
|||
⚫ | |||
[[en:Metabolic pathway]] |
|||
[[หมวดหมู่:วิถีเมแทบอลิซึม| ]] |
|||
[[fr:Voie métabolique]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 06:53, 14 เมษายน 2567
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ในทางชีวเคมี วิถีเมแทบอลิซึม (อังกฤษ: metabolic pathway) คือ ปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องกันเป็นลำดับขั้นตอน ในแต่ละวิถี สารเคมีหลักจะเกิดปฏิกิริยาเคมีและเปลี่ยนไปเป็นสารอื่น โดยมีเอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และมักต้องอาศัยแร่ธาตุ วิตามินและโคแฟกเตอร์อื่น ๆ จึงจะดำเนินไปอย่างเหมาะสม เพราะมีสารเคมีจำนวนมาก ("เมแทบอไลต์") เข้ามาเกี่ยวข้อง วิถีเมแทบอลิซึมจึงอาจค่อนข้างซับซ้อน ยิ่งไปกว่านั้น วิถีซึ่งแตกต่างกันจำนวนมากเกิดร่วมกันในเซลล์ หมู่วิถีนี้เรียกว่า เครือข่ายเมแทบอลิซึม วิถีเมแทบอลิซึมสำคัญต่อการรักษาภาวะธำรงดุล (homeostasis) ในสิ่งมีชีวิต วิถีแคแทบอลิซึมและแอแนบอลิซึมมักทำงานพึ่งพาอาศัยกันเพื่อสร้างโมเลกุลชีวภาพใหม่เป็นผลิตภัณฑ์สุดท้าย
วิถีเมแทบอลิซึมเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสารตั้งต้นทีละขั้นเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์ที่ได้มานั้นสามารถนำไปใช้ได้สามทาง คือ
- นำไปใช้ทันที
- เป็นสารตั้งต้นในวิถีเมแทบอลิซึมอื่น เรียกว่า flux generating step
- เซลล์นำไปเก็บสะสมไว้
โมเลกุลที่เป็นสารตั้งต้นเข้าสู่วิถีเมแทบอลิซึมขึ้นอยู่กับความต้องการของเซลล์และการพร้อมใช้งานของสารตั้งต้น การเพิ่มความเข้มข้นของสารตัวกลางแอแนบอลิซึมและแคแทบอลิซึม และ/หรือ ผลิตภัณฑ์อาจส่งผลต่ออัตราเมแทบอลิซึมในแต่ละวิถีนั้น ๆ
ทั่วไป
[แก้]วิถีเมแทบอลิซึมส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติทั่วไปดังนี้
- วิถีถูกควบคุมโดย การยับยั้งย้อนกลับ (feedback inhibition) หรืออาจเป็นวงจรที่ผลผลิตสุดท้ายไปเริ่มปฏิกิริยาใหม่อีกครั้ง เช่น วัฏจักรเครปส์
- วิถีแอแนบอลิซึมและแคแทบอลิซึมในยูแคริโอต จะถูกแยกโดยออร์แกเนลล์ หรือโดยการใช้เอ็นไซม์และโคแฟกเตอร์
รายการวิถีเมแทบอลิซึม
[แก้]การหายใจระดับเซลล์
[แก้]เป็นวิถีเมแทบอลิซึมที่เกิดในเซลล์จะเป็นไปเพื่อสลายโมเลกุลพลังงาน (fuel molecule) ไปเป็น ATP เพื่อนำพลังงานไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ของเซลล์
- ไกลโคไลสิส (glycolysis)
- การหายใจแบบไม่ใช้อากาศ (anaerobic respiration)
- วัฏจักรเครปส์ (Krebs cycle)
- ปฏิกิริยาออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน (Oxidative phosphorylation)
วิถีอื่นที่เกิดในสิ่งมีชีวิตมีดังนี้:
- แฟตตีแอซิดออกซิเดชัน (Fatty acid oxidation-β-oxidation)
- การสร้างกลูโคส (Gluconeogenesis)
- วิถีเอชเอ็มจี-โคเอ รีดักเทส (HMG-CoA reductase pathway) (ไอโซพรีน โซ่พรีนิเลชั่น, ดู คอเลสเตอรอล)
- วิถีเพนโตสฟอสเฟต (hexose monophosphate shunt)
- วิถีการสังเคราะห์พอร์ไฟริน (heme synthesis)
- วัฏจักรยูเรีย
การสร้างสารประกอบพลังงานจากสสารที่ไม่มีชีวิต:
- การสังเคราะห์แสง (Photosynthesis-plants, algae)
- การสังเคราะห์เคมี (Chemosynthesis-some bacteria)
ดูเพิ่ม
[แก้]แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Open Directory Project: Metabolic Pathways เก็บถาวร 2005-11-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Metabolism, Cellular Respiration and Photosynthesis - The Virtual Library of Biochemistry and Cell Biology เก็บถาวร 2005-03-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- KEGG: Kyoto Encyclopedia of Genes and Genomes