ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิถีเมแทบอลิซึม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NongBot (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ข้อความ+หมวดหมู่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
 
(ไม่แสดง 35 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 24 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ขาดอ้างอิง}}
ในทาง[[ชีวเคมี]] '''เมตาโบลิก พาทเวย์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: Metabolic pathway) เป็นชุดของปฏิกิริยา[[เคมี]] ที่เกิดขึ้นใน[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]] โดยมี[[เอ็นไซม์]]เร่งปฏิกิริยา เป็นผลให้เกิดสารที่ได้จากกระบวนการเมตาโบลิซึม (metabolic product) เพื่อการใช้งานหรือเก็บสะสมในเซลล์ หรือกระตุ้นให้เกิดกระบวนการ[[การเผาผลาญ|เมตาโบลิก]] พาทเวย์ อื่นต่อไป (ซึ่งเรียกว่า ''ฟลักซ์ เจเนอริ่ง สเตป'' (flux generating step))
ในทาง[[ชีวเคมี]] '''วิถีเมแทบอลิซึม''' ({{lang-en|metabolic pathway}}) คือ [[ปฏิกิริยาเคมี]]ในสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องกันเป็นลำดับขั้นตอน ในแต่ละวิถี สารเคมีหลักจะเกิดปฏิกิริยาเคมีและเปลี่ยนไปเป็นสารอื่น โดยมี[[เอนไซม์]]เป็น[[ตัวเร่งปฏิกิริยา]] และมักต้องอาศัยแร่ธาตุ [[วิตามิน]]และ[[โคแฟกเตอร์]]อื่น ๆ จึงจะดำเนินไปอย่างเหมาะสม เพราะมีสารเคมีจำนวนมาก ("เมแทบอไลต์") เข้ามาเกี่ยวข้อง วิถีเมแทบอลิซึมจึงอาจค่อนข้างซับซ้อน ยิ่งไปกว่านั้น วิถีซึ่งแตกต่างกันจำนวนมากเกิดร่วมกันในเซลล์ หมู่วิถีนี้เรียกว่า ''เครือข่ายเมแทบอลิซึม'' วิถีเมแทบอลิซึมสำคัญต่อการรักษา[[ภาวะธำรงดุล]] (homeostasis) ใน[[สิ่งมีชีวิต]] วิถี[[แคแทบอลิซึม]]และ[[แอแนบอลิซึม]]มักทำงานพึ่งพาอาศัยกันเพื่อสร้าง[[โมเลกุลชีวภาพ]]ใหม่เป็นผลิตภัณฑ์สุดท้าย


วิถีเมแทบอลิซึมเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสารตั้งต้นทีละขั้นเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์ที่ได้มานั้นสามารถนำไปใช้ได้สามทาง คือ
==ทั่วไป==
* นำไปใช้ทันที
เมตาโบลิก]] พาทเวย์ ส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติทั่วไปดังนี้:
* เป็นสารตั้งต้นในวิถีเมแทบอลิซึมอื่น เรียกว่า flux generating step
* เป็นปฏิกิริยาที่ไม่ย้อนกลับเพราะมันเป็นปฏิกิริยาที่แตกสะลายและมีการปลดปล่อยพลังงานออกมา จึงเป็นปฏิกิริยาทางเดียว
* เซลล์นำไปเก็บสะสมไว้
* พาทเวย์ถูกควบคุมโดย [[การยับยั้งย้อนกลับ]] (feedback inhibition) หรืออาจเป็นวงจรที่ผลผลิตสุดท้ายไปเริ่มปฏิกิริยาใหม่อีกครั้ง เช่น [[กริ๊บ ไซเค]] (Krebs Cycle)
* [[อนาโบลิซึม|อนาโบลิก]] และ [[แคตาโบลิซึม|แคตาโบลิก]] พาทเวย์ ใน[[ยูแคริโอต ]] จะถูกแยกโดย[[ออร์แกเนลล์]] หรือโดยการใช้เอ็นไซม์และโคแฟกเตอร์


โมเลกุลที่เป็นสารตั้งต้นเข้าสู่วิถีเมแทบอลิซึมขึ้นอยู่กับความต้องการของเซลล์และการพร้อมใช้งานของสารตั้งต้น การเพิ่มความเข้มข้นของสารตัวกลางแอแนบอลิซึมและแคแทบอลิซึม และ/หรือ ผลิตภัณฑ์อาจส่งผลต่ออัตราเมแทบอลิซึมในแต่ละวิถีนั้น ๆ
==เมตาโบลิก พาทเวย์ ส่วนใหญ่==
===การหายใจของเซลล์===
''[[การหายใจของเซลล์]] (Cellular respiration)'' เมตาโบลิก พาทเวย์ ที่เกิดในเซลล์จะเป็นไปเพื่อสะลาย[[โมเลกุลพลังงาน]] (fuel molecule) ไปเป็น [[อะดีโนซีน ไตรฟอสเฟต|ATP]] เพื่อนำพลังงานไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ของเซลล์ ในรูปแบบต่าง ๆ ดังนี้:
#[[ไกลโคไลสิส]] (Glycolysis)
#[[การหายใจแบบไม่ใช้อากาศ]] (Anaerobic respiration)
#[[กริ๊บ ไซเคิล]] (Krebs cycle) / [[ซิตริก ไซเคิล]] (Citric acid cycle)
#[[ออกซิเดตีฟ ฟอสฟอริเรชั่น]] (Oxidative phosphorylation)


== ทั่วไป ==
พาทเวย์อื่นที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิตมีดังนี้:
วิถีเมแทบอลิซึมส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติทั่วไปดังนี้
* [[แฟตตี้ แอซิด ออกซิเดชั่น]] (Fatty acid oxidation-β-oxidation)
* วิถีถูกควบคุมโดย [[การยับยั้งย้อนกลับ]] (feedback inhibition) หรืออาจเป็นวงจรที่ผลผลิตสุดท้ายไปเริ่มปฏิกิริยาใหม่อีกครั้ง เช่น [[วัฏจักรเครปส์]]
* [[กลูโคนีโอเจนิสิส]] (Gluconeogenesis)
* วิถี[[แอแนบอลิซึม]]และ[[แคแทบอลิซึม]]ใน[[ยูแคริโอต]] จะถูกแยกโดย[[ออร์แกเนลล์]] หรือโดยการใช้เอ็นไซม์และโคแฟกเตอร์
* [[เอชเอ็มจี-โคเอ รีดักเทส พาทเวย์]] (HMG-CoA reductase pathway) ([[isoprene]] โซ่พรีนิเลชั่น, ดู [[คอเลสเตอรอล]])

* [[เพนโตส ฟอสเฟต พาทเวย์]] (hexose monophosphate shunt)
== รายการวิถีเมแทบอลิซึม ==
* [[พอร์ไฟริน]] ซินทีสิส (หรือ [[heme]] synthesis) พาทเวย์
=== การหายใจระดับเซลล์ ===
* [[วงจรยูเรีย]]
{{บทความหลัก|การหายใจระดับเซลล์}}
เป็นวิถีเมแทบอลิซึมที่เกิดในเซลล์จะเป็นไปเพื่อสลาย[[โมเลกุลพลังงาน]] (fuel molecule) ไปเป็น [[อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต|ATP]] เพื่อนำพลังงานไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ของเซลล์
# [[ไกลโคไลสิส]] (glycolysis)
# [[การหายใจแบบไม่ใช้อากาศ]] (anaerobic respiration)
# [[วัฏจักรเครปส์]] (Krebs cycle)
# [[ปฏิกิริยาออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน]] (Oxidative phosphorylation)

วิถีอื่นที่เกิดในสิ่งมีชีวิตมีดังนี้:
* [[แฟตตีแอซิดออกซิเดชัน]] (Fatty acid oxidation-β-oxidation)
* [[การสร้างกลูโคส]] (Gluconeogenesis)
* [[วิถีเอชเอ็มจี-โคเอ รีดักเทส]] (HMG-CoA reductase pathway) ([[ไอโซพรีน]] โซ่พรีนิเลชั่น, ดู [[คอเลสเตอรอล]])
* [[วิถีเพนโตสฟอสเฟต]] (hexose monophosphate shunt)
* วิถีการสังเคราะห์[[พอร์ไฟริน]] (heme synthesis)
* [[วัฏจักรยูเรีย]]


การสร้างสารประกอบพลังงานจากสสารที่ไม่มีชีวิต:
การสร้างสารประกอบพลังงานจากสสารที่ไม่มีชีวิต:
บรรทัด 27: บรรทัด 35:
* [[การสังเคราะห์เคมี]] (Chemosynthesis-some bacteria)
* [[การสังเคราะห์เคมี]] (Chemosynthesis-some bacteria)


==ดูเพิ่ม==
== ดูเพิ่ม ==
* [[เมแทบอลิซึมของเซลล์]]
*[[Cell metabolism|catabolism]]


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
==ลิงก์ภายนอก==
* [[Open Directory Project]]: [http://www.dmoz.org/Science/Biology/Biochemistry_and_Molecular_Biology/Metabolic_Pathways/ Metabolic Pathways]
* [[Open Directory Project]]: [http://www.dmoz.org/Science/Biology/Biochemistry_and_Molecular_Biology/Metabolic_Pathways/ Metabolic Pathways] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20051129102750/http://dmoz.org/Science/Biology/Biochemistry_and_Molecular_Biology/Metabolic_Pathways/ |date=2005-11-29 }}
* [http://www.biochemweb.org/metabolism.shtml Metabolism, Cellular Respiration and Photosynthesis - The Virtual Library of Biochemistry and Cell Biology]
* [http://www.biochemweb.org/metabolism.shtml Metabolism, Cellular Respiration and Photosynthesis - The Virtual Library of Biochemistry and Cell Biology] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20050316052050/http://www.biochemweb.org/metabolism.shtml |date=2005-03-16 }}
* [http://www.genome.jp/kegg/ KEGG: Kyoto Encyclopedia of Genes and Genomes]
* [http://www.genome.jp/kegg/ KEGG: Kyoto Encyclopedia of Genes and Genomes]


{{เรียงลำดับ|มเตาโบลิก พาทเวย์}}
{{โครงชีวเคมี}}
{{โครงชีวเคมี}}


[[หมวดหมู่:ชีวเคมี]]
[[หมวดหมู่:Metabolism]]


[[หมวดหมู่:เมแทบอลิซึม]]
[[de:Stoffwechselweg]]
[[หมวดหมู่:ชีวเคมี]]
[[en:Metabolic pathway]]
[[หมวดหมู่:วิถีเมแทบอลิซึม| ]]
[[es:Ruta metabólica]]
[[fr:Voie métabolique]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 06:53, 14 เมษายน 2567

ในทางชีวเคมี วิถีเมแทบอลิซึม (อังกฤษ: metabolic pathway) คือ ปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องกันเป็นลำดับขั้นตอน ในแต่ละวิถี สารเคมีหลักจะเกิดปฏิกิริยาเคมีและเปลี่ยนไปเป็นสารอื่น โดยมีเอนไซม์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และมักต้องอาศัยแร่ธาตุ วิตามินและโคแฟกเตอร์อื่น ๆ จึงจะดำเนินไปอย่างเหมาะสม เพราะมีสารเคมีจำนวนมาก ("เมแทบอไลต์") เข้ามาเกี่ยวข้อง วิถีเมแทบอลิซึมจึงอาจค่อนข้างซับซ้อน ยิ่งไปกว่านั้น วิถีซึ่งแตกต่างกันจำนวนมากเกิดร่วมกันในเซลล์ หมู่วิถีนี้เรียกว่า เครือข่ายเมแทบอลิซึม วิถีเมแทบอลิซึมสำคัญต่อการรักษาภาวะธำรงดุล (homeostasis) ในสิ่งมีชีวิต วิถีแคแทบอลิซึมและแอแนบอลิซึมมักทำงานพึ่งพาอาศัยกันเพื่อสร้างโมเลกุลชีวภาพใหม่เป็นผลิตภัณฑ์สุดท้าย

วิถีเมแทบอลิซึมเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสารตั้งต้นทีละขั้นเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์ที่ได้มานั้นสามารถนำไปใช้ได้สามทาง คือ

  • นำไปใช้ทันที
  • เป็นสารตั้งต้นในวิถีเมแทบอลิซึมอื่น เรียกว่า flux generating step
  • เซลล์นำไปเก็บสะสมไว้

โมเลกุลที่เป็นสารตั้งต้นเข้าสู่วิถีเมแทบอลิซึมขึ้นอยู่กับความต้องการของเซลล์และการพร้อมใช้งานของสารตั้งต้น การเพิ่มความเข้มข้นของสารตัวกลางแอแนบอลิซึมและแคแทบอลิซึม และ/หรือ ผลิตภัณฑ์อาจส่งผลต่ออัตราเมแทบอลิซึมในแต่ละวิถีนั้น ๆ

ทั่วไป

[แก้]

วิถีเมแทบอลิซึมส่วนใหญ่จะมีคุณสมบัติทั่วไปดังนี้

รายการวิถีเมแทบอลิซึม

[แก้]

การหายใจระดับเซลล์

[แก้]

เป็นวิถีเมแทบอลิซึมที่เกิดในเซลล์จะเป็นไปเพื่อสลายโมเลกุลพลังงาน (fuel molecule) ไปเป็น ATP เพื่อนำพลังงานไปใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ของเซลล์

  1. ไกลโคไลสิส (glycolysis)
  2. การหายใจแบบไม่ใช้อากาศ (anaerobic respiration)
  3. วัฏจักรเครปส์ (Krebs cycle)
  4. ปฏิกิริยาออกซิเดทีฟฟอสโฟรีเลชัน (Oxidative phosphorylation)

วิถีอื่นที่เกิดในสิ่งมีชีวิตมีดังนี้:

การสร้างสารประกอบพลังงานจากสสารที่ไม่มีชีวิต:

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]


pFad - Phonifier reborn

Pfad - The Proxy pFad of © 2024 Garber Painting. All rights reserved.

Note: This service is not intended for secure transactions such as banking, social media, email, or purchasing. Use at your own risk. We assume no liability whatsoever for broken pages.


Alternative Proxies:

Alternative Proxy

pFad Proxy

pFad v3 Proxy

pFad v4 Proxy