ทีมฟุตบอล
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
ทีมฟุตบอล (อังกฤษ: football team) เป็นชื่อที่เรียกกลุ่มของผู้เล่นที่เลือกมาเล่นร่วมกันในการแข่งขันฟุตบอล แต่ละทีมสามารถเลือกผู้เล่นเพื่อแข่งกับทีมตรงข้าม อาจเป็นตัวแทนของสโมสรฟุตบอล กลุ่ม รัฐ หรือชาติ ทีมรวมดาว หรือแม้แต่ทีมสมมติ (อย่างเช่น ดรีมทีมหรือทีมแห่งศตวรรษ) ที่เป็นทีมที่อาจไม่เคยลงแข่งขันจริง
ผู้เล่นจะได้รับเลือกให้เล่นในตำแหน่งต่าง ๆ ของทีม ในบางกรณีการเรียกว่า ทีมฟุตบอล ในบางครั้งอาจจำกัดเฉพาะผู้ที่ลงแข่งในสนาม และไม่รวมผู้เล่นที่เป็นผู้เล่นเปลี่ยนตัวหรือผู้เล่นฉุกเฉิน ส่วนคำว่า "Football squad" อาจจะใช้รวมถึงทีมสนับสนุนและผู้เล่นสำรองด้วย
สโมสรฟุตบอล นั้นเป็นองค์กรหรือกลุ่มคนที่มี ประธาน คณะกรรมการและมีกฎการรับผิดชอบเพื่อให้มั่นใจถึงความมีตัวตนของทีม ที่จะมีการเลือกหรือการชิงตำแหน่ง สโมสรฟุตบอลที่เก่าแก่ที่สุดเกิดขึ้นในช่วงต้นศตวรรษที่ 19
สถิติสโมสรฟุตบอลระดับโลก
[แก้]สถิติสโมสรฟุตบอลไทย
[แก้]
สโมสรฟุตบอลไทยที่มีอันดับดีที่สุด[แก้]
สโมสรฟุตบอลต่างประเทศที่คนไทยเป็นเจ้าของ[แก้]
สโมสรฟุตบอลต่างประเทศที่คนไทยถือหุ้น[แก้]
สโมสรฟุตบอลต่างประเทศที่คนไทยเป็นเจ้าของในนามต่างชาติ[แก้]
|
สโมสรฟุตบอลไทยที่เก่าแก่ที่สุด[แก้]
|
ดาวทีมฟุตบอล
[แก้]ดาวทีมชาติ
[แก้]ทีมชาติ | รายการ | ครั้งแรก | จำนวนดาว | ตรา |
---|---|---|---|---|
ฟุตบอลชาย | ||||
บราซิล | ฟุตบอลโลก | 1958 | 5 | |
อิตาลี | ฟุตบอลโลก | 1934 | 4 | |
เยอรมนี | ฟุตบอลโลก | 1954 | 4 | |
อุรุกวัย | ฟุตบอลโลก และ โอลิมปิก |
1930 | 4 (2+2) | |
อาร์เจนตินา | ฟุตบอลโลก | 1978 | 3 | |
ฝรั่งเศส | ฟุตบอลโลก | 1998 | 2 | |
อังกฤษ | ฟุตบอลโลก | 1966 | 1 | |
สเปน | ฟุตบอลโลก | 2010 | 1 | |
ฟุตบอลหญิง | ||||
สหรัฐ | ฟุตบอลโลกหญิง | 1991 | 4 | |
เยอรมนี | ฟุตบอลโลกหญิง | 2003 | 2 | |
นอร์เวย์ | ฟุตบอลโลกหญิง | 1995 | 1 | |
ญี่ปุ่น | ฟุตบอลโลกหญิง | 2011 | 1 | |
สเปน | ฟุตบอลโลกหญิง | 2023 | 1 |
ดาวทีมสโมสรลีกสูงสุด
[แก้]- 1 ดาว = แชมป์ 10 สมัย เช่น เซเรียอา, ลีกเอิง, เอเรอดีวีซี, เบลเจียนเฟิสต์ดิวิชัน เอ, แอ็กสตรากลาซา, อัลสเว็นสกัน, เอลีเตอเซเรียน, ไวเคาส์ลีกา, ลีกของไอร์แลนด์พรีเมียร์ดิวิชัน, สวิสซูเปอร์ลีก, ออสเตรียนฟุตบอลบุนเดิสลีกา, เช็กเฟิสต์ลีก, เซอร์เบียนซูเปอร์ลีกา, ลีกาอึนตึย, ไซปรีออตเฟิสต์ดิวิชัน, กาเตกอรีอาซูเปรีออเร, เน็มเซติ บัจน็อกซัก วัน, ลักเซมเบิร์กเนชันนัลดิวิชัน, มอลโดวาเนชันนัลดิวิชัน, สโลวีเนียนปราวาลีกา, มอลตีสพรีเมียร์ลีก
- 1 ดาว = แชมป์ 5 สมัย เช่น รัสเซียนพรีเมียร์ลีก, ซือเปร์ลีก, เมเจอร์ลีกซอกเกอร์, เดนิชซูเปอร์ลีกา, เบลารุเซียนพรีเมียร์ลีก, เมอิสตริลลีกา, อูร์วัลส์เดอิลด์, สโลวักเฟิสต์ฟุตบอลลีก
- 1 ดาว = แชมป์ 1 สมัย เช่น อาเซอร์ไบจานพรีเมียร์ลีก
- 1 ดาว = แชมป์ 3 สมัย / 2 ดาว = แชมป์ 5 สมัย / 3 ดาว = แชมป์ 10 สมัย / 4 ดาว = แชมป์ 20 สมัย / 5 ดาว = แชมป์ 30 สมัย คือ บุนเดิสลีกา
ทีมสโมสรฟุตบอลแบ่งตามผู้เล่นชุดปัจจุบัน
[แก้]ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "สโมสรฟุตบอลที่เก่าแก่ที่สุดในโลก". ผู้จัดการออนไลน์. 25 May 2005. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "แฉทักษิณ ทำแมนซิตี้เกือบเจ๊ง!!". เอ็มไทยดอตคอม. 29 April 2009. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "สื่ออังกฤษทำสกู๊ปยกเจ้าของไทยทำจิ้งจอกผงาด". สยามกีฬา. 13 February 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-21. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.
- ↑ ""เดชพล จันศิริ" บอสใหม่ "เชฟฟิลด์ เวนส์เดย์" ลูกชาย...คือแรงบันดาลใจ". ประชาชาติธุรกิจ. 12 February 2015. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.
- ↑ "รู้จัก 'สัมฤทธิ์ บัณฑิตกฤษดา' อีกคนไทย ผู้เขย่าลูกหนังผู้ดี". ไทยรัฐ. 18 June 2014. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.
- ↑ "คิงเพาเวอร์ตกลงซื้อทีมสโมสรฟุตบอล OHL ของเบลเยียม". ไทยรัฐ. 17 May 2017. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.
- ↑ ""บิ๊กเสือ"สัมฤทธิ์ เทกโอเวอร์"ออกซฟอร์ด" นั่งแท่นประธานใหญ่". สยามสปอร์ต. 23 Feb 2018. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.
- ↑ "ตะลึง!! เสี่ยไพโรจน์ นักธุรกิจไทย บรรลุเทคโอเวอร์ทีมดังยุโรป". ไทยรัฐ. 6 May 2018. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.
- ↑ ""ไพโรจน์ เปี่ยมพงษ์สานต์" เปิดตัวเทคโอเวอร์สโมสรมุสครง ในลีกเบลเยียม". ข่าวสด. 9 May 2018. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.
- ↑ "รู้จัก "บี เตชะอุบล" จากคันทรี่ กรุ๊ป ถึง เอซี มิลาน ผู้หาญกล้าหอบเงินหมื่นล้านซื้อสโมสรดังแห่งอิตาลี". ผู้จัดการออนไลน์. 17 February 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-05. สืบค้นเมื่อ 12 May 2016.