วัว
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รูปแบบอื่น
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]ยืมมาจากภาษาจีนเก่า 牛 (OC *ŋʷɯ); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨦ᩠ᩅᩫ (งว็), ภาษาอีสาน งัว, ภาษาลาว ງົວ (ง็ว), ภาษาไทลื้อ ᦷᦣ (โฮ) หรือ ᦷᦇ (โง), ภาษาไทดำ ꪉꪺ (งัว), ภาษาไทใหญ่ ငူဝ်း (งู๊ว) หรือ ဝူဝ်း (วู๊ว), ภาษาอาหม 𑜆𑜥 (ปู) หรือ 𑜑𑜥 (หู)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | วัว | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | wuua |
ราชบัณฑิตยสภา | wua | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /wua̯˧/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]วัว (คำลักษณนาม ตัว)
- ชื่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิด Bos taurus Linn. ในวงศ์ Bovidae เป็นสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดใหญ่ กีบคู่ ลำตัวมีสีต่าง ๆ เช่น น้ำตาล นวล เขาโค้งสั้น ไม่ผลัดเขามีเหนียงห้อยอยู่ใต้คอถึงอก ขนปลายหางเป็นพู่ ที่เลี้ยงเพื่อนำน้ำนมมาบริโภค เช่น พันธุ์โฮลสไตน์–ฟรีเซียน ที่ขุนเป็นวัวเนื้อ เช่น พันธุ์บรามัน
- ปลางัว
คำพ้องความ
[แก้ไข]- (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม): ดูที่ อรรถาภิธาน:วัว
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]สัตว์เคี้ยวเอื้องชนิด Bos taurus
|
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนเก่า
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนเก่า
- สัมผัส:ภาษาไทย/ua̯
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- คำนามภาษาไทยที่ใช้คำลักษณนาม ตัว
- พาลินโดรมภาษาไทย
- รายการที่มีกล่องคำแปล
- หน้าที่มีคำแปลภาษาคำเมือง
- หน้าที่มีคำแปลภาษาไทใหญ่
- หน้าที่มีคำแปลภาษาฝรั่งเศส
- หน้าที่มีคำแปลภาษาเยอรมัน
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาเยอรมัน/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาลาว
- หน้าที่มีคำแปลภาษาสเปน
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาสเปน/t+
- หน้าที่มีคำแปลภาษาอังกฤษ
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาอังกฤษ/t+
- th:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม
- th:ปลา