ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คนอีสาน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Khunphon Saenchainoi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
| footnotes =
| footnotes =
}}
}}
'''คนอีสาน''' ({{lang-lo|ຄົນອີສານ}}; {{lang-my|အီသန် လူမျိုး}}) หรือ '''ชาวอีสาน''' หรือ '''ชาวไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ''' หรือ '''ชาวไทยภาคอีสาน''' เป็น[[กลุ่มชาติพันธุ์]]-[[ภูมิภาคนิยม|ภูมิภาค]]ใน[[ภาคอีสาน (ประเทศไทย)|ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]] ("อีสาน")<ref name=":0">{{Cite book|last=Keyes|first=Charles F.|title=Finding their voice: Northeastern villagers and the Thai state|publisher=Silkworm|year=2014|isbn=978-616-215-074-6|location=Chiang Mai|oclc=1127266412}}</ref> ที่มีประชากรประมาณ 22 ล้านคน<ref name="BuddhistPeoples">{{Citation |first=Paul (ed.) |last=Hattaway |title=Isan |work=Peoples of the Buddhist World |publisher=William Carey Library |year=2004 |page=103}}</ref><ref name="CERD/C/THA/1-3">{{cite book|url=http://www.rlpd.go.th/rlpdnew/images/rlpd_1/HRC/CERD%201_3.pdf|title=International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination; Reports submitted by States parties under article 9 of the Convention : Thailand|date=28 July 2011|publisher=United Nations Committee on the Elimination of Racial Discrimination|pages=3,5,95|language=en, th|access-date=8 October 2016|archive-date=2016-10-09|archive-url=https://web.archive.org/web/20161009184727/http://www.rlpd.go.th/rlpdnew/images/rlpd_1/HRC/CERD%201_3.pdf|url-status=dead}}</ref> ชื่ออื่น ๆ ของกลุ่มชนนี้ได้แก่ ''ไท(ย)อีสาน'',<ref name="BuddhistPeoples" /><ref name=":1">{{Cite journal|last1=McCargo|first1=Duncan|last2=Hongladarom|first2=Krisadawan|date=2004|title=Contesting Isan‐ness: discourses of politics and identity in Northeast Thailand|journal=Asian Ethnicity|volume=5|issue=2|pages=219–234|doi=10.1080/1463136042000221898|s2cid=30108605|issn=1463-1369}}</ref> ''ไทย-ลาว'',<ref>{{Cite book|author=Hayashi Yukio|title=Practical Buddhism among the Thai-Lao|publisher=Kyoto University Press|year=2003}}</ref> ''ลาวอีสาน''<ref name="BuddhistPeoples" /><ref>{{Cite book|author=Barbara A. West|title=Encyclopedia of the Peoples of Asia and Oceania|url=https://archive.org/details/encyclopediapeop00west|url-access=limited|publisher=Facts on File|year=2009|isbn=978-1438119137|page=[https://archive.org/details/encyclopediapeop00west/page/n471 449]}}</ref> หรือ ''อีสานลาว'' โดยอยู่ในกลุ่มชน[[ชาวไท]]เหมือนกับ[[ไทยสยาม|ชาวไทยภาคกลาง (สยาม)]] และ[[ชาวลาว]]
'''คนอีสาน''' ({{lang-lo|ຄົນອີສານ}}; {{lang-my|အီသန် လူမျိုး}}) หรือ '''ชาวไทยเชื้อสายลาว''' หรือ '''ชาวไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ''' หรือ '''ชาวไทยภาคอีสาน''' เป็น[[กลุ่มชาติพันธุ์]]-[[ภูมิภาคนิยม|ภูมิภาค]]ใน[[ภาคอีสาน (ประเทศไทย)|ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]] ("อีสาน")<ref name=":0">{{Cite book|last=Keyes|first=Charles F.|title=Finding their voice: Northeastern villagers and the Thai state|publisher=Silkworm|year=2014|isbn=978-616-215-074-6|location=Chiang Mai|oclc=1127266412}}</ref> ที่มีประชากรประมาณ 22 ล้านคน<ref name="BuddhistPeoples">{{Citation |first=Paul (ed.) |last=Hattaway |title=Isan |work=Peoples of the Buddhist World |publisher=William Carey Library |year=2004 |page=103}}</ref><ref name="CERD/C/THA/1-3">{{cite book|url=http://www.rlpd.go.th/rlpdnew/images/rlpd_1/HRC/CERD%201_3.pdf|title=International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination; Reports submitted by States parties under article 9 of the Convention : Thailand|date=28 July 2011|publisher=United Nations Committee on the Elimination of Racial Discrimination|pages=3,5,95|language=en, th|access-date=8 October 2016|archive-date=2016-10-09|archive-url=https://web.archive.org/web/20161009184727/http://www.rlpd.go.th/rlpdnew/images/rlpd_1/HRC/CERD%201_3.pdf|url-status=dead}}</ref> ชื่ออื่น ๆ ของกลุ่มชนนี้ได้แก่ ''ไท(ย)อีสาน'',<ref name="BuddhistPeoples" /><ref name=":1">{{Cite journal|last1=McCargo|first1=Duncan|last2=Hongladarom|first2=Krisadawan|date=2004|title=Contesting Isan‐ness: discourses of politics and identity in Northeast Thailand|journal=Asian Ethnicity|volume=5|issue=2|pages=219–234|doi=10.1080/1463136042000221898|s2cid=30108605|issn=1463-1369}}</ref> ''ไทย-ลาว'',<ref>{{Cite book|author=Hayashi Yukio|title=Practical Buddhism among the Thai-Lao|publisher=Kyoto University Press|year=2003}}</ref> ''ลาวอีสาน''<ref name="BuddhistPeoples" /><ref>{{Cite book|author=Barbara A. West|title=Encyclopedia of the Peoples of Asia and Oceania|url=https://archive.org/details/encyclopediapeop00west|url-access=limited|publisher=Facts on File|year=2009|isbn=978-1438119137|page=[https://archive.org/details/encyclopediapeop00west/page/n471 449]}}</ref> หรือ ''อีสานลาว'' โดยอยู่ในกลุ่มชน[[ชาวไท]]เหมือนกับ[[ไทยสยาม|ชาวไทยภาคกลาง (สยาม)]] และ[[ชาวลาว]]


ในความหมายกว้าง ๆ ทุกคนที่มาจาก 20 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออาจเรียกเป็น ''คนอีสาน'' ส่วนในความหมายแคบกว่า คำนี้สื่อเฉพาะผู้มี[[ชาวลาว|เชื้อชาติลาว]]ที่เป็นประชากรส่วนใหญ่ในพื้นที่ส่วนใหญ่ของภูมิภาค หลัง[[กบฏเจ้าอนุวงศ์|การก่อกบฏ]]ที่ล้มเหลวใน พ.ศ. 2369 ทำให้เกิดการบังคับถ่ายโอนประชากรผู้มีเชื้อชาติลาวจำนวนมากมายังภาคอีสาน หลังการแยกภาคอีสานออกจากอาณาจักรของลาวในอดีต การบูรณาการเข้ากับรัฐชาติไทยและนโยบาย"[[การแผลงเป็นไทย]]"ของรัฐบาล พวกเขาพัฒนาเอกลักษณ์ประจำภูมิภาคให้แตกต่างไปจากทั้งชาวลาวในประเทศลาวและชาวไทยในภาคกลางของประเทศไทย<ref name=":0" /><ref>{{Cite book|last=Hesse-Swain, Catherine|title=Speaking in Thai, dreaming in Isan: Popular Thai television and emerging identities of Lao Isan youth living in northeast Thailand|date=2011-01-01|publisher=Edith Cowan University, Edith Cowan University, Research Online, Perth, Western Australia, Perth, Western Australia|oclc=1029867099}}</ref><ref>{{Cite journal|last1=McCargo|first1=Duncan|last2=Hongladarom|first2=Krisadawan|date=2004|title=Contesting Isan‐ness: discourses of politics and identity in Northeast Thailand|journal=Asian Ethnicity|volume=5|issue=2|pages=219–234|doi=10.1080/1463136042000221898|s2cid=30108605|issn=1463-1369}}</ref> การบูรณาการเอกลักษณ์นี้เข้ากับเอกลักษณ์ประจำชาติไทยเริ่มขึ้นประมาณ พ.ศ. 2443<ref>{{Cite journal|last=Iijima|first=Akiko|date=2018|title=The invention of "Isan" history|url=https://so06.tci-thaijo.org/index.php/pub_jss/article/view/157699|journal=Journal of the Siam Society|volume=106|pages=171–200}}</ref><ref name=":03">{{Cite book|last=Streckfuss|first=David|title=Autonomous Histories, Particular Truths: Essays in the Honor of John R. W. Smail|publisher=Centre for Southeast Asian Studies|year=1993|location=Madison, WI|pages=123–153|chapter=The mixed colonial legacy in Siam: Origins of Thai racialist thought, 1890–1910}}</ref><ref name=":4">{{Cite book|last=Breazeale, Kennon.|title=The integration of the Lao States into the Thai Kingdom|date=1975|publisher=Bodleian Library, Oxford University|oclc=223634347}}</ref> แล้วเพิ่มความเข้มข้นมากขึ้นในช่วงสมัยฟาสซิสต์<ref>{{Cite book|last=Strate, Shane, author.|title=The lost territories : Thailand's history of national humiliation|year=2015|isbn=978-0-8248-6971-7|oclc=986596797}}</ref> ตลอดไปถึงช่วงสงครามเย็น<ref name=":0" /> และยังคงมีอยู่ในปัจจุบัน ถึงแม้ว่าใน พ.ศ. 2554 ทางการไทยยอมรับอัตลักษณ์ลาวให้กับสหประชาชาติ<ref name="CERD/C/THA/1-3" /><ref>{{Cite journal|last1=Draper|first1=John|last2=Kamnuansilpa|first2=Peerasit|date=2016-11-22|title=The Thai Lao question: the reappearance of Thailand's ethnic Lao community and related policy questions|journal=Asian Ethnicity|volume=19|issue=1|pages=81–105|doi=10.1080/14631369.2016.1258300|s2cid=151587930|issn=1463-1369}}</ref> แม้แต่ในช่วงสูงสุดของสงครามเย็น ระดับการบูรณาการสิ่งนี้ยังคงอยู่ในระดับสูงมาก<ref name=":0" /> โดยวัดจากการแสดงออกถึงความรู้สึกชาตินิยม<ref>{{Cite book|last=Suntaree Komin.|title=Psychology of the Thai people : values and behavioral patterns|date=1991|publisher=Research Center, National Institute of Development Administration (NIDA)|isbn=974-85744-8-2|oclc=35221306}}</ref> แม้แต่ปัจจุบัน ชาวอีสานเป็นหนึ่งในกลุ่มที่ชาตินิยมที่สุดในประเทศไทย ซึ่งมีความชาตินิยมมากกว่าชาวไทยภาคกลาง<ref>{{Cite journal|last=Ricks|first=Jacob I.|date=2019-06-01|title=Proud to be Thai: The Puzzling Absence of Ethnicity-Based Political Cleavages in Northeastern Thailand|journal=Pacific Affairs|volume=92|issue=2|pages=257–285|doi=10.5509/2019922257|issn=0030-851X|url=https://ink.library.smu.edu.sg/soss_research/2962}}</ref><ref>{{Cite journal|last=Ricks|first=Jacob|date=2020|title=Integration despite Exclusion: Thai National Identity among Isan People|url=https://kyotoreview.org/issue-27/integration-despite-exclusion-thai-national-identity-among-isan-people/|journal=The Kyoto Review|volume=27}}</ref> ด้วยเหตุนี้ ในช่วงสูงสุดของ 'สงครามสี' ในประเทศไทยในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 2000 ถึงต้นคริสต์ทศวรรษ 2010 กลุ่ม[[เสื้อแดง]]ที่มีฐานหลักในภาคอีสาน จึงมิได้เรียกร้องให้มีการแบ่งแยกดินแดน แต่เรียกร้องให้นำประชาธิปไตยกลับมาผ่านการสนับสนุน[[พรรคเพื่อไทย]]<ref>{{Cite journal|last=Alexander|first=Saowanee T.|date=2019|title=Identity in Isan and the Return of the Redshirts in the 2019 Elections and Beyond|url=https://kyotoreview.org/issue-27/isan-identity-return-of-redshirts-2019-elections-and-beyond/|journal=The Kyoto Review|volume=27}}</ref>
ในความหมายกว้าง ๆ ทุกคนที่มาจาก 20 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออาจเรียกเป็น ''คนอีสาน'' ส่วนในความหมายแคบกว่า คำนี้สื่อเฉพาะผู้มี[[ชาวลาว|เชื้อชาติลาว]]ที่เป็นประชากรส่วนใหญ่ในพื้นที่ส่วนใหญ่ของภูมิภาค หลัง[[กบฏเจ้าอนุวงศ์|การก่อกบฏ]]ที่ล้มเหลวใน พ.ศ. 2369 ทำให้เกิดการบังคับถ่ายโอนประชากรผู้มีเชื้อชาติลาวจำนวนมากมายังภาคอีสาน หลังการแยกภาคอีสานออกจากอาณาจักรของลาวในอดีต การบูรณาการเข้ากับรัฐชาติไทยและนโยบาย"[[การแผลงเป็นไทย]]"ของรัฐบาล พวกเขาพัฒนาเอกลักษณ์ประจำภูมิภาคให้แตกต่างไปจากทั้งชาวลาวในประเทศลาวและชาวไทยในภาคกลางของประเทศไทย<ref name=":0" /><ref>{{Cite book|last=Hesse-Swain, Catherine|title=Speaking in Thai, dreaming in Isan: Popular Thai television and emerging identities of Lao Isan youth living in northeast Thailand|date=2011-01-01|publisher=Edith Cowan University, Edith Cowan University, Research Online, Perth, Western Australia, Perth, Western Australia|oclc=1029867099}}</ref><ref>{{Cite journal|last1=McCargo|first1=Duncan|last2=Hongladarom|first2=Krisadawan|date=2004|title=Contesting Isan‐ness: discourses of politics and identity in Northeast Thailand|journal=Asian Ethnicity|volume=5|issue=2|pages=219–234|doi=10.1080/1463136042000221898|s2cid=30108605|issn=1463-1369}}</ref> การบูรณาการเอกลักษณ์นี้เข้ากับเอกลักษณ์ประจำชาติไทยเริ่มขึ้นประมาณ พ.ศ. 2443<ref>{{Cite journal|last=Iijima|first=Akiko|date=2018|title=The invention of "Isan" history|url=https://so06.tci-thaijo.org/index.php/pub_jss/article/view/157699|journal=Journal of the Siam Society|volume=106|pages=171–200}}</ref><ref name=":03">{{Cite book|last=Streckfuss|first=David|title=Autonomous Histories, Particular Truths: Essays in the Honor of John R. W. Smail|publisher=Centre for Southeast Asian Studies|year=1993|location=Madison, WI|pages=123–153|chapter=The mixed colonial legacy in Siam: Origins of Thai racialist thought, 1890–1910}}</ref><ref name=":4">{{Cite book|last=Breazeale, Kennon.|title=The integration of the Lao States into the Thai Kingdom|date=1975|publisher=Bodleian Library, Oxford University|oclc=223634347}}</ref> แล้วเพิ่มความเข้มข้นมากขึ้นในช่วงสมัยฟาสซิสต์<ref>{{Cite book|last=Strate, Shane, author.|title=The lost territories : Thailand's history of national humiliation|year=2015|isbn=978-0-8248-6971-7|oclc=986596797}}</ref> ตลอดไปถึงช่วงสงครามเย็น<ref name=":0" /> และยังคงมีอยู่ในปัจจุบัน ถึงแม้ว่าใน พ.ศ. 2554 ทางการไทยยอมรับอัตลักษณ์ลาวให้กับสหประชาชาติ<ref name="CERD/C/THA/1-3" /><ref>{{Cite journal|last1=Draper|first1=John|last2=Kamnuansilpa|first2=Peerasit|date=2016-11-22|title=The Thai Lao question: the reappearance of Thailand's ethnic Lao community and related policy questions|journal=Asian Ethnicity|volume=19|issue=1|pages=81–105|doi=10.1080/14631369.2016.1258300|s2cid=151587930|issn=1463-1369}}</ref> แม้แต่ในช่วงสูงสุดของสงครามเย็น ระดับการบูรณาการสิ่งนี้ยังคงอยู่ในระดับสูงมาก<ref name=":0" /> โดยวัดจากการแสดงออกถึงความรู้สึกชาตินิยม<ref>{{Cite book|last=Suntaree Komin.|title=Psychology of the Thai people : values and behavioral patterns|date=1991|publisher=Research Center, National Institute of Development Administration (NIDA)|isbn=974-85744-8-2|oclc=35221306}}</ref> แม้แต่ปัจจุบัน ชาวอีสานเป็นหนึ่งในกลุ่มที่ชาตินิยมที่สุดในประเทศไทย ซึ่งมีความชาตินิยมมากกว่าชาวไทยภาคกลาง<ref>{{Cite journal|last=Ricks|first=Jacob I.|date=2019-06-01|title=Proud to be Thai: The Puzzling Absence of Ethnicity-Based Political Cleavages in Northeastern Thailand|journal=Pacific Affairs|volume=92|issue=2|pages=257–285|doi=10.5509/2019922257|issn=0030-851X|url=https://ink.library.smu.edu.sg/soss_research/2962}}</ref><ref>{{Cite journal|last=Ricks|first=Jacob|date=2020|title=Integration despite Exclusion: Thai National Identity among Isan People|url=https://kyotoreview.org/issue-27/integration-despite-exclusion-thai-national-identity-among-isan-people/|journal=The Kyoto Review|volume=27}}</ref> ด้วยเหตุนี้ ในช่วงสูงสุดของ 'สงครามสี' ในประเทศไทยในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 2000 ถึงต้นคริสต์ทศวรรษ 2010 กลุ่ม[[เสื้อแดง]]ที่มีฐานหลักในภาคอีสาน จึงมิได้เรียกร้องให้มีการแบ่งแยกดินแดน แต่เรียกร้องให้นำประชาธิปไตยกลับมาผ่านการสนับสนุน[[พรรคเพื่อไทย]]<ref>{{Cite journal|last=Alexander|first=Saowanee T.|date=2019|title=Identity in Isan and the Return of the Redshirts in the 2019 Elections and Beyond|url=https://kyotoreview.org/issue-27/isan-identity-return-of-redshirts-2019-elections-and-beyond/|journal=The Kyoto Review|volume=27}}</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:22, 23 มกราคม 2566

อีสาน
ลาวอีสาน, ไทอีสาน
ประชากรทั้งหมด
14-22 ล้านคน[1] [2] (2547, ประมาณ)
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
ประเทศไทย
(ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,
กรุงเทพและปริมณฑล)
≈ 22,000,000[2]
ประเทศลาว
(ตามริมฝั่งแม่น้ำโขง)
≈ 8,000[2]
ภาษา
ลาวอีสาน, ไทย
ศาสนา
พุทธเถรวาท (ส่วนใหญ่), คริสต์โรมันคาทอลิก (ประมาณ 0.9%)
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
ชาวไทกลุ่มอื่น ๆ เช่น ลาว, ไทยสยาม (ไทยภาคกลาง)

คนอีสาน (ลาว: ຄົນອີສານ; พม่า: အီသန် လူမျိုး) หรือ ชาวไทยเชื้อสายลาว หรือ ชาวไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ ชาวไทยภาคอีสาน เป็นกลุ่มชาติพันธุ์-ภูมิภาคในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ("อีสาน")[3] ที่มีประชากรประมาณ 22 ล้านคน[2][4] ชื่ออื่น ๆ ของกลุ่มชนนี้ได้แก่ ไท(ย)อีสาน,[2][5] ไทย-ลาว,[6] ลาวอีสาน[2][7] หรือ อีสานลาว โดยอยู่ในกลุ่มชนชาวไทเหมือนกับชาวไทยภาคกลาง (สยาม) และชาวลาว

ในความหมายกว้าง ๆ ทุกคนที่มาจาก 20 จังหวัดในภาคตะวันออกเฉียงเหนืออาจเรียกเป็น คนอีสาน ส่วนในความหมายแคบกว่า คำนี้สื่อเฉพาะผู้มีเชื้อชาติลาวที่เป็นประชากรส่วนใหญ่ในพื้นที่ส่วนใหญ่ของภูมิภาค หลังการก่อกบฏที่ล้มเหลวใน พ.ศ. 2369 ทำให้เกิดการบังคับถ่ายโอนประชากรผู้มีเชื้อชาติลาวจำนวนมากมายังภาคอีสาน หลังการแยกภาคอีสานออกจากอาณาจักรของลาวในอดีต การบูรณาการเข้ากับรัฐชาติไทยและนโยบาย"การแผลงเป็นไทย"ของรัฐบาล พวกเขาพัฒนาเอกลักษณ์ประจำภูมิภาคให้แตกต่างไปจากทั้งชาวลาวในประเทศลาวและชาวไทยในภาคกลางของประเทศไทย[3][8][9] การบูรณาการเอกลักษณ์นี้เข้ากับเอกลักษณ์ประจำชาติไทยเริ่มขึ้นประมาณ พ.ศ. 2443[10][11][12] แล้วเพิ่มความเข้มข้นมากขึ้นในช่วงสมัยฟาสซิสต์[13] ตลอดไปถึงช่วงสงครามเย็น[3] และยังคงมีอยู่ในปัจจุบัน ถึงแม้ว่าใน พ.ศ. 2554 ทางการไทยยอมรับอัตลักษณ์ลาวให้กับสหประชาชาติ[4][14] แม้แต่ในช่วงสูงสุดของสงครามเย็น ระดับการบูรณาการสิ่งนี้ยังคงอยู่ในระดับสูงมาก[3] โดยวัดจากการแสดงออกถึงความรู้สึกชาตินิยม[15] แม้แต่ปัจจุบัน ชาวอีสานเป็นหนึ่งในกลุ่มที่ชาตินิยมที่สุดในประเทศไทย ซึ่งมีความชาตินิยมมากกว่าชาวไทยภาคกลาง[16][17] ด้วยเหตุนี้ ในช่วงสูงสุดของ 'สงครามสี' ในประเทศไทยในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 2000 ถึงต้นคริสต์ทศวรรษ 2010 กลุ่มเสื้อแดงที่มีฐานหลักในภาคอีสาน จึงมิได้เรียกร้องให้มีการแบ่งแยกดินแดน แต่เรียกร้องให้นำประชาธิปไตยกลับมาผ่านการสนับสนุนพรรคเพื่อไทย[18]

ผู้อยู่อาศัยเกือบทั้งหมดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยมีสัญชาติไทย ถึงกระนั้นประชากรส่วนใหญ่ (ประมาณ 80%)[19] มีเชื้อชาติลาวและพูดสำเนียงหนึ่งของภาษาลาวตอนอยู่บ้าน (สำเนียงหลักของภาษาลาวสามภาษาที่พูดกันในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยถูกสรุปเป็นภาษาอีสาน)[20] เพื่อหลีกเลี่ยงทัศนคติแบบเหมารวมและการรับรู้ที่เกี่ยวข้องกับคนที่พูดภาษาลาวแบบเสื่อมเสีย พวกเขาส่วนใหญ่จึงเรียกตนเองเป็น คนอีสาน[21][22]

ดูเพิ่ม

อ่านเพิ่ม

  • Asia Foundation (2019). Thailand's Inequality: Myths & Reality of Isan. The Asia Foundation.
  • David Brown (1994). "Internal colonialism and ethnic rebellion in Thailand". The State and Ethnic Politics in Southeast Asia. Routledge. pp. 109–142.
  • The Isaan Record เก็บถาวร 2020-11-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (online magazine).
  • Volker Grabowsky, บ.ก. (1995). "The Northeast (Isan)". Regions and National Integration in Thailand, 1892-1992. Harrassowitz Verlag. pp. 105–192.
  • Charles F. Keyes (2014). Finding Their Voice: Northeastern Villagers and the Thai State. Silkworm Books.
  • Duncan McCargo; Krisadawan Hongladarom (June 2004). "Contesting Isan-ness: Discourses of Politics and Identity in Northeast Thailand" (PDF). Asian Ethnicity. 5 (2): 219–234. doi:10.1080/1463136042000221898. S2CID 30108605.

อ้างอิง

  1. สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. (2547). แผนที่ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 Hattaway, Paul (ed.) (2004), "Isan", Peoples of the Buddhist World, William Carey Library, p. 103 {{citation}}: |first= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Keyes, Charles F. (2014). Finding their voice: Northeastern villagers and the Thai state. Chiang Mai: Silkworm. ISBN 978-616-215-074-6. OCLC 1127266412.
  4. 4.0 4.1 International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination; Reports submitted by States parties under article 9 of the Convention : Thailand (PDF) (ภาษาอังกฤษ และ ไทย). United Nations Committee on the Elimination of Racial Discrimination. 28 July 2011. pp. 3, 5, 95. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-10-09. สืบค้นเมื่อ 8 October 2016.
  5. McCargo, Duncan; Hongladarom, Krisadawan (2004). "Contesting Isan‐ness: discourses of politics and identity in Northeast Thailand". Asian Ethnicity. 5 (2): 219–234. doi:10.1080/1463136042000221898. ISSN 1463-1369. S2CID 30108605.
  6. Hayashi Yukio (2003). Practical Buddhism among the Thai-Lao. Kyoto University Press.
  7. Barbara A. West (2009). Encyclopedia of the Peoples of Asia and Oceania. Facts on File. p. 449. ISBN 978-1438119137.
  8. Hesse-Swain, Catherine (2011-01-01). Speaking in Thai, dreaming in Isan: Popular Thai television and emerging identities of Lao Isan youth living in northeast Thailand. Edith Cowan University, Edith Cowan University, Research Online, Perth, Western Australia, Perth, Western Australia. OCLC 1029867099.
  9. McCargo, Duncan; Hongladarom, Krisadawan (2004). "Contesting Isan‐ness: discourses of politics and identity in Northeast Thailand". Asian Ethnicity. 5 (2): 219–234. doi:10.1080/1463136042000221898. ISSN 1463-1369. S2CID 30108605.
  10. Iijima, Akiko (2018). "The invention of "Isan" history". Journal of the Siam Society. 106: 171–200.
  11. Streckfuss, David (1993). "The mixed colonial legacy in Siam: Origins of Thai racialist thought, 1890–1910". Autonomous Histories, Particular Truths: Essays in the Honor of John R. W. Smail. Madison, WI: Centre for Southeast Asian Studies. pp. 123–153.
  12. Breazeale, Kennon. (1975). The integration of the Lao States into the Thai Kingdom. Bodleian Library, Oxford University. OCLC 223634347.
  13. Strate, Shane, author. (2015). The lost territories : Thailand's history of national humiliation. ISBN 978-0-8248-6971-7. OCLC 986596797. {{cite book}}: |last= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  14. Draper, John; Kamnuansilpa, Peerasit (2016-11-22). "The Thai Lao question: the reappearance of Thailand's ethnic Lao community and related policy questions". Asian Ethnicity. 19 (1): 81–105. doi:10.1080/14631369.2016.1258300. ISSN 1463-1369. S2CID 151587930.
  15. Suntaree Komin. (1991). Psychology of the Thai people : values and behavioral patterns. Research Center, National Institute of Development Administration (NIDA). ISBN 974-85744-8-2. OCLC 35221306.
  16. Ricks, Jacob I. (2019-06-01). "Proud to be Thai: The Puzzling Absence of Ethnicity-Based Political Cleavages in Northeastern Thailand". Pacific Affairs. 92 (2): 257–285. doi:10.5509/2019922257. ISSN 0030-851X.
  17. Ricks, Jacob (2020). "Integration despite Exclusion: Thai National Identity among Isan People". The Kyoto Review. 27.
  18. Alexander, Saowanee T. (2019). "Identity in Isan and the Return of the Redshirts in the 2019 Elections and Beyond". The Kyoto Review. 27.
  19. Grabowsky: The Isan up to its Integration into the Siamese State. In: Regions and National Integration in Thailand. 1995, S. 108.
  20. Draper, John (2016). "The Isan Culture Maintenance and Revitalisation Programme's multilingual signage attitude survey: Phase II". Journal of Multilingual and Multicultural Development. 37 (8): 832–848. doi:10.1080/01434632.2016.1142997. ISSN 0143-4632. S2CID 216112353.
  21. McCargo; Krisadawan (2004). "Contesting Isan-ness": 229–232. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  22. Alexander, Saowanee T.; McCargo, Duncan (2014). "Diglossia and identity in Northeast Thailand: Linguistic, social, and political hierarchy" (PDF). Journal of Sociolinguistics. 18 (1): 60–86. doi:10.1111/josl.12064. ISSN 1360-6441.
pFad - Phonifier reborn

Pfad - The Proxy pFad of © 2024 Garber Painting. All rights reserved.

Note: This service is not intended for secure transactions such as banking, social media, email, or purchasing. Use at your own risk. We assume no liability whatsoever for broken pages.


Alternative Proxies:

Alternative Proxy

pFad Proxy

pFad v3 Proxy

pFad v4 Proxy