ข้ามไปเนื้อหา

อิรักในอาณัติ

พิกัด: 33°20′N 44°23′E / 33.333°N 44.383°E / 33.333; 44.383
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รุ่นสำหรับพิมพ์ไม่ได้รับการสนับสนุนอีกต่อไปและอาจมีข้อผิดพลาด โปรดอัปเดตบุ๊กมาร์กและใช้ตัวเลือกสำหรับพิมพ์ที่มีมาให้ในเบราว์เซอร์แทน
ราชอาณาจักรในอาณัติของสหราชอาณาจักร

الانتداب البريطاني على العراق
1921–1932
เพลงชาติ(1924–1932)
อัสซาลาม อัลมาลิกกี السلام الملكي
Es Salaam al-Malaky
สันติภาพแด่กษัตริย์
ที่ตั้งของอิรัก
สถานะอาณาเขตในอาณัติของสหราชอาณาจักร
เมืองหลวงแบกแดด
ภาษาทั่วไปอาหรับ · Kurdish
Assyrian language · เปอร์เซีย
ศาสนา
อิสลาม · Christianity
ยูดาย · Yazidism
Mandaeism
พระมหากษัตริย์ 
ข้าหลวงใหญ่ 
• 1921-1923
เซอร์ Percy Zachariah Cox
• 1923-1928
เซอร์ Henry Robert Conway Dobbs
• 1928-1929
เซอร์ Gilbert Falkingham Clayton
• 1929-1932
เซอร์ Francis Henry Humphrys
ยุคประวัติศาสตร์สมัยระหว่างสงคราม
26 เมษายน 1920
10 สิงหาคม 1921
1921
1930
• ประกาศอิสรภาพ
3 ตุลาคม 1932
พื้นที่
1932438,317 ตารางกิโลเมตร (169,235 ตารางไมล์)
ประชากร
• 1932
3449000
ก่อนหน้า
ถัดไป
จักรวรรดิออตโตมัน
ราชอาณาจักรอิรัก

รัฐอารักขาเมโสโปเตเมีย มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า ราชอาณาจักรในอาณัติของสหราชอาณาจักร (อาหรับ: الانتداب البريطاني على العراق al-Intidāb al-Brīṭānī ‘Alá al-‘Irāq) สถาปนาประเทศเมื่อ ค.ศ. 1921 ภายหลังการปฏิวัติอาหรับในปี ค.ศ. 1920 ภายใต้บันทึกความเข้าใจว่าด้วยเมโสโปเตเมียในอาณัติอันเป็นจุดเริ่มต้นของสนธิสัญญาอิรัก-สหราชอาณาจักรเมื่อ ค.ศ. 1922.

ฟัยศ็อล บิน ฮุซัยน์ บิน อะลี อัลฮาชิมีได้รับการสถาปนาพระอิสริยศเป็นพระมหากษัตริย์แห่งซีเรียโดยสภาแห่งชาติซีเรีย ณ กรุงดามัสกัส เมื่อ มีนาคม ค.ศ. 1920 ต่อมาทางฝรั่งเศสได้ถอดพระอิสริยยศในระหว่างสงครามซีเรีย-ฝรั่งเศสเมื่อเดือนกรกฎาคม. แต่สหราชอาณาจักรโดยกองกำลังบริเตนในตะวันออกกลางได้ให้การรับรองฐานันดนในฐานะสมเด็จพระราชาธิบดี, โดยกองทัพอากาศ (RAF) เป็นผู้ควบคุมบังคับบัญชากองกำลังทหาร, โดยพฤตินัย; สหราชอาณาจักรได้บริหารปกครองดินแดนจนถึงปี ค.ศ. 1932.[1]

รัฐบาลพลเรือนได้เข้าบริหารประเทศช่วงระหว่างสงคราม โดยมีข้าหลวงใหญ่ เซอร์ เพอร์ซี ค๊อก, และ รักษาการณ์ผู้บังคับัญชากองทหาร พันเอก อารืโนลด์ วิลสัน. ได้เข้าควบคุมสถานการณ์ภายหลังนายทหารอังกฤษถูกฆ่าที่เมืองนาจาฟ อันเป็นจุดเริ่มต้นของขบวนการชาตินิยม และ การต่อต้านการปกครองของบริเตน ยกเว้นเขตปกครองตนเองเคอร์ดิสถานที่บริเตนยังให้ความดูแลอารักขา

อ้างอิง

  1. Ethnicity, State Formation, and Conscription in Postcolonial Iraq: The Case of the Yazidi Kurds of Jabal Sinjar. JSTOR [1]

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • Barker, A. J. The First Iraq War, 1914-1918: Britain's Mesopotamian Campaign (New York: Enigma Books, 2009). ISBN 978-1-929631-86-5
  • Fuccaro, Nelida, " The Other Kurds" (London: IB Tauris, 1999)
  • Dodge, Toby "Inventing Iraq" (2009)
  • Fieldhouse, David K. Western Imperialism in the Middle East, 1914–1958 (2006)* Fisk, Robert. The Great War for Civilisation: The Conquest of the Middle East, (2nd ed. 2006),
  • Jacobsen, Mark. "'Only by the Sword': British Counter‐insurgency in Iraq," Small Wars and Insurgencies 2, no. 2 (1991): 323–63.
  • Simons, Geoff. Iraq: From Sumer to Saddam (2nd ed. 1994)
  • Sluglett, Peter. Britain in Iraq: Contriving King and Country, 1914–1932 (2nd ed. 2007)
  • Vinogradov, Amal. "The 1920 Revolt in Iraq Reconsidered: The Role of Tribes in National Politics," International Journal of Middle East Studies 3, no. 2 (1972): 123–39

แม่แบบ:ประเทศอิรัก แม่แบบ:Territories of the British Empire 33°20′N 44°23′E / 33.333°N 44.383°E / 33.333; 44.383

pFad - Phonifier reborn

Pfad - The Proxy pFad of © 2024 Garber Painting. All rights reserved.

Note: This service is not intended for secure transactions such as banking, social media, email, or purchasing. Use at your own risk. We assume no liability whatsoever for broken pages.


Alternative Proxies:

Alternative Proxy

pFad Proxy

pFad v3 Proxy

pFad v4 Proxy