ข้ามไปเนื้อหา

กีซา

พิกัด: 29°59′13″N 31°12′42″E / 29.9870°N 31.2118°E / 29.9870; 31.2118
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กีซา

الجيزة
ϯⲡⲉⲣⲥⲓⲥ, ϯⲡⲉⲣⲥⲓⲟⲓ
ϯⲡⲉⲣⲥⲓⲥ ⲙ̀ⲃⲁⲃⲩⲗⲱⲛ
ตามเข็มนาฬิกาจากบน:
ภาพพาโนรามาของกีซา, พีระมิดแห่งกีซา, มหาวิทยาลัยไคโร, มหาสฟิงซ์แห่งกีซา, สมาร์ตวิลเลจ
ธงของกีซา
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของกีซา
ตรา
กีซาตั้งอยู่ในประเทศอียิปต์
กีซา
กีซา
ที่ตั้งของกีซาในประเทศอียิปต์
กีซาตั้งอยู่ในแอฟริกา
กีซา
กีซา
กีซา (แอฟริกา)
พิกัด: 29°59′13″N 31°12′42″E / 29.9870°N 31.2118°E / 29.9870; 31.2118
ประเทศอียิปต์
เขตผู้ว่าการกีซา
ก่อตั้งค.ศ. 642
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีFaud al Muhammed Sisi
พื้นที่
 • นคร1,579.75 ตร.กม. (609.94 ตร.ไมล์)
ความสูง19 เมตร (62 ฟุต)
ประชากร
 (2021[1])
 • นคร9,200,000 คน
 • ความหนาแน่น5,800 คน/ตร.กม. (15,000 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง4,498,518 คน
เขตเวลาUTC+2 (เวลามาตรฐานอียิปต์)
รหัสพื้นที่(+20) 2
เว็บไซต์Giza.gov.eg

กีซา (อังกฤษ: Giza) หรือ อัลญีซะฮ์ (อาหรับ: الجيزة) เป็นนครใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศอียิปต์ รองจากไคโร และเป็นนครที่ใหญ่เป็นอันดับ 4 ของแอฟริกา เป็นรองเพียงกินชาซา, เลกอส และไคโร ตั้งอยู่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไนล์ อยู่ห่างจากศูนย์กลางของไคโรไปทางตะวันตกเฉียงใต้ 4.9 กิโลเมตร (3 ไมล์) กีซาเป็นเมืองหลวงของเขตผู้ว่าการกีซาที่มีประชากร 9.2 ล้านคนใน ค.ศ. 2021

กีซาเป็นเมืองที่มีชื่อเสียง เป็นที่ตั้งของที่ราบสูงกีซา ที่ตั้งของอนุสรณ์โบราณ อย่างเช่น เกรตสฟิงซ์และพีระมิด 3 แห่งที่สร้างในสมัยราชวงศ์ที่ 4 ของอียิปต์

ภูมิศาสตร์

[แก้]

นครกีซาเป็นเมืองหลวงของเขตผู้ว่าการกีซา ซึ่งตั้งอยู่ใกล้เขตทางตะวันออกเฉียงเหนือของเขตผู้ว่าการ นครนี้มีประชากรตามสำมะโนแห่งชาติใน ค.ศ. 2006 ที่ 2,681,863 คน[2][3]

ภูมิอากาศ

[แก้]

กีซามีสภาพภูมิอากาศทะเลทรายร้อน (เคิพเพิน: BWh) คล้ายกับไคโร ในช่วงฤดูใบไม้ผลิมักมีพายุนำฝุ่นทรายเข้านครในช่วงเดือนมีนาคมถึงมษายน อุณหภูมิในช่วงฤดูหนาวตอนกลางวันสูงถึง 16 ถึง 20 องศาเซลเซียส (61 ถึง 68 องศาฟาเรนไฮต์) ส่วนตอนกลางคือลดต่ำถึงน้อยกว่า 7 °C (45 °F) ในฤดูร้อน อุณหภูมิสามารถขึ้นสูงถึง 40 องศาเซลเซียส (104 องศาฟาเรนไฮต์) และต่ำลงถึง 20 °C (68 °F) นครกีซาไม่ค่อยพบฝน และอากาศหนาวเย็นแทบไม่ได้พบเห็นบ่อยมาก

จนถึงเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2013 อุณหภูมิสูงสุดเท่าที่บันทึกคือ 46 องศาเซลเซียส (115 องศาฟาเรนไฮต์) ในวันที่ 13 มิถุนายน ค.ศ. 1965 ส่วนอุณหภูมิต่ำสุดเท่าที่บันทึกคือ 2 องศาเซลเซียส (36 องศาฟาเรนไฮต์) ในวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1966[4]

ข้อมูลภูมิอากาศของกีซา
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 28
(82)
30
(86)
36
(97)
41
(106)
43
(109)
46
(115)
41
(106)
43
(109)
39
(102)
40
(104)
36
(97)
30
(86)
46
(115)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 19.3
(66.7)
20.9
(69.6)
24.2
(75.6)
28.4
(83.1)
32.0
(89.6)
34.9
(94.8)
34.5
(94.1)
34.4
(93.9)
32.4
(90.3)
30.2
(86.4)
25.4
(77.7)
21.1
(70)
28.14
(82.66)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 13.0
(55.4)
14.0
(57.2)
17.2
(63)
20.5
(68.9)
24.0
(75.2)
27.1
(80.8)
27.5
(81.5)
27.5
(81.5)
25.6
(78.1)
23.5
(74.3)
19.2
(66.6)
15.0
(59)
21.18
(70.12)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 6.8
(44.2)
7.2
(45)
10.3
(50.5)
12.7
(54.9)
16.1
(61)
19.3
(66.7)
20.6
(69.1)
20.7
(69.3)
18.9
(66)
16.8
(62.2)
13.0
(55.4)
8.9
(48)
14.28
(57.7)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 2
(36)
4
(39)
5
(41)
8
(46)
11
(52)
16
(61)
17
(63)
17
(63)
16
(61)
11
(52)
4
(39)
4
(39)
2
(36)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 4
(0.16)
3
(0.12)
2
(0.08)
1
(0.04)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
3
(0.12)
4
(0.16)
17
(0.67)
แหล่งที่มา 1: Climate-Data.org[5]
แหล่งที่มา 2: Voodoo Skies[4] สำหรับสถิติอุณหภูมิ

อ้างอิง

[แก้]
  1. "الجهاز المركزي للتعبئة العامة والإحصاء". www.capmas.gov.eg. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 October 2018. สืบค้นเมื่อ 27 October 2018.
  2. Anthony Appiah; Henry Louis Gates (Jr.) (2010). Encyclopedia of Africa. Oxford University Press. p. 403. ISBN 978-0-19-533770-9.
  3. "Giza, Egypt". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 February 2019. สืบค้นเมื่อ 21 February 2019.
  4. 4.0 4.1 "El-Giza, Egypt". Voodoo Skies. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 October 2013. สืบค้นเมื่อ 16 August 2013.
  5. "Climate: Giza – Climate graph, Temperature graph, Climate table". Climate-Data.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 September 2013. สืบค้นเมื่อ 16 August 2013.

อ่านเพิ่ม

[แก้]
  • Der Manuelian, Peter. 2017. Digital Giza: Visualizing the Pyramids. Cambridge, Massachusetts: Harvard University Press.
  • Hawass, Zahi A. 2010. Wonders of the Pyramids: The Sound and Light of Giza. Cairo: Misr Company for Sound, Light, & Cinema.
  • --. 2011. Newly-Discovered Statues From Giza, 1990-2009. Cairo: Ministry of State for Antiquities.
  • Magli, G. 2016. "The Giza 'written' landscape and the double project of King Khufu." Time & Mind-the Journal of Archaeology Consciousness and Culture 9, no.1: 57–74.
  • Khattab, Hind A. S., Nabil Younis, and Huda Zurayk. 1999. Women, Reproduction, and Health In Rural Egypt: The Giza Study. Cairo, Egypt: American University in Cairo Press.
  • Kormysheva, Ė. E., Svetlana Malykh, and Sergey Vetokhov. 2010. Giza, Eastern Necropolis: Russian Archaeological Mission In Giza. Moscow: Institute of Oriental Studies, Russian Academy of Sciences.
  • Lawton, Ian, and Chris Ogilvie-Herald. 2000. Giza: The Truth: the People, Politics and History Behind the World's Most Famous Archaeological Site. Rev. ed. London: Virgin.
  • Lehner, Mark, and Zahi A. Hawass. 2017. Giza and the Pyramids: The Definitive History. Chicago: The University of Chicago Press.
pFad - Phonifier reborn

Pfad - The Proxy pFad of © 2024 Garber Painting. All rights reserved.

Note: This service is not intended for secure transactions such as banking, social media, email, or purchasing. Use at your own risk. We assume no liability whatsoever for broken pages.


Alternative Proxies:

Alternative Proxy

pFad Proxy

pFad v3 Proxy

pFad v4 Proxy