ข้ามไปเนื้อหา

จันทรยาน-1

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จันทรยาน-1
ประเภทภารกิจLunar orbiter
ผู้ดำเนินการIndian Space Research Organisation
COSPAR ID2008-052A
SATCAT no.33405
เว็บไซต์www.isro.gov.in/Spacecraft/chandrayaan-1
ระยะภารกิจแผน: 2 ปี
Final: 10 เดือน 6 วัน
ข้อมูลยานอวกาศ
มวลขณะส่งยาน1,380 kg (3,040 lb)
มวลแห้ง560 kg (1,230 lb)[1]
มวลบรรทุก105 kg (231 lb)[1]
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น22 October 2008, 00:52 (2008-10-22UTC00:52) UTC
จรวดนำส่งPSLV-XL C11[2]
ฐานส่งSatish Dhawan Second Pad
ผู้ดำเนินงานISRO
สิ้นสุดภารกิจ
ติดต่อครั้งสุดท้ายแม่แบบ:End-date UTC
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงSelenocentric
กึ่งแกนเอก1,758 กิโลเมตร (1,092 ไมล์)*
ความเยื้อง0.0
ระยะใกล้สุด200 km (120 mi)
ระยะไกลสุด200 km (120 mi)
วันที่ใช้อ้างอิง19 พฤษภาคม ค.ศ.2009
ยานอวกาศโคจรรอบ ดวงจันทร์
แทรกวงโคจร8 พฤศจิกายน ค.ศ.2008
วงโคจร3,400 at EOM[3]
 

จันทรยาน-1 (ฮินดี: चंद्रयान-1; เตลูกู: చంద్రయాన్-1) เป็นยานอวกาศสำรวจพื้นผิวดวงจันทร์ของอินเดีย ออกแบบและสร้างโดยองค์การวิจัยด้านอวกาศแห่งอินเดีย (Indian Space Research Organisation - ISRO) ส่งขึ้นสู่อวกาศในวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2551 เวลา 06.22 น. ตามเวลาในท้องถิ่น หรือ 00:52 น. ตามเวลาสากลเชิงพิกัด[4] จากศูนย์อวกาศสาทิศธาวัน รัฐอานธรประเทศ ประเทศอินเดีย

จันทรยาน-1 เข้าสู่วงโคจรของดวงจันทร์ในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551[5] ส่วนตัวยานลูก Moon Impact Probe ที่จันทรยาน-1 นำขึ้นไปด้วย ได้ลงจอดบริเวณขั้วใต้ของดวงจันทร์ได้สำเร็จเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน ของปีเดียวกัน

จันทรยาน-1 เป็นยานสำรวจรูปสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ น้ำหนัก 1.3 ตัน มีภารกิจโคจรรอบดวงจันทร์ เพื่อทำแผนที่พื้นผิวดวงจันทร์แบบ 3 มิติ และแผนที่ส่วนประกอบและแร่ธาตุ โดยเฉพาะการสำรวจเพื่อค้นหาฮีเลียม 3 และน้ำแข็ง โดยจะส่งยานลูก (Moon Impact probe - MIP) น้ำหนัก 30 กิโลกรัม กระทบพื้นผิวดวงจันทร์ เพื่อวิเคราะห์อนุภาคฝุ่น

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Datta, Jayati; Chakravarty, S. C. "Chandrayaan-1 India's First Mission to Moon" (PDF). VSSC.gov.in. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 16 August 2019. สืบค้นเมื่อ 16 August 2019.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ISRO-Mission
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ mission_end_1
  4. "PSLV-C11 Successfully Launches Chandrayaan-1". Indian Express. 2008-10-22. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-10-25. สืบค้นเมื่อ 2008-10-22. (อังกฤษ)
  5. "Chandrayaan-1 Successfully Enters Lunar Orbit". ISRO. สืบค้นเมื่อ 2008-11-08. (อังกฤษ)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]


pFad - Phonifier reborn

Pfad - The Proxy pFad of © 2024 Garber Painting. All rights reserved.

Note: This service is not intended for secure transactions such as banking, social media, email, or purchasing. Use at your own risk. We assume no liability whatsoever for broken pages.


Alternative Proxies:

Alternative Proxy

pFad Proxy

pFad v3 Proxy

pFad v4 Proxy